การผลิตชีวภัณฑ์ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
#1
          ศัตรูพืช เป็นอุปสรรคสำคัญอย่างหนึ่งในการปลูกพืช ซึ่งศัตรูพืชส่วนใหญ่หลายชนิดทำลายพืชอาหาร ตั้งแต่เริ่มงอกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว ทำให้ผลผลิตและคุณภาพของพืชเสียหาย หรือลดลงในลักษณะการทาลายที่แตกต่างกัน

          การควบคุมศัตรูพืชเพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นมีหลายวิธี วิธีที่ง่าย สะดวก และเห็นผลรวดเร็ว เสียค่าใช้จ่ายน้อย และคุ้มค่าในการลงทุนคือการใช้สารเคมี ซึ่งสามารถลดปัญหาการขาดแคลนพืชอาหารได้ดีกว่าวิธีอื่น แต่เนื่องจากในการบริโภคอย่างพอเพียง จึงทาให้มีการใช้สารเคมีอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง ใช้อย่างขาดความระมัดระวัง ขาดความรับผิดชอบ หวังเพียงเพื่อเพิ่มผลผลิตของพืชที่ปลูกเท่านั้น


ไฟล์แนบ
.pdf   บทที่ 1 วิถีเกษตรไทย อดีต จนถึงปัจจุบัน.pdf (ขนาด: 237.59 KB / ดาวน์โหลด: 719)
.pdf   บทที่ 2 ผลกระทบของสารเคมีการเกษตรต่อสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค.pdf (ขนาด: 109.39 KB / ดาวน์โหลด: 4,442)
.pdf   บทที่ 3 การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน.pdf (ขนาด: 111.62 KB / ดาวน์โหลด: 8,655)
.pdf   บทที่ 4 ไส้เดือนฝอยกาจัดแมลงศัตรูพืช สายพันธุ์ไทย.pdf (ขนาด: 255.52 KB / ดาวน์โหลด: 3,666)
.pdf   บทที่ 5 กระบวนการเพาะเลี้ยงไส้เดือนฝอยสายพันธุ์ไทยใช้เองในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง.pdf (ขนาด: 519.2 KB / ดาวน์โหลด: 785)
.pdf   บทที่ 6 ข้อพึงระวังในกระบวนการเพาะเลี้ยงไส้เดือนฝอย.pdf (ขนาด: 106.22 KB / ดาวน์โหลด: 551)
.pdf   บทที่ 7 การใช้ไส้เดือนฝอยสายพันธุ์ไทยในแปลงพืชผัก.pdf (ขนาด: 221.57 KB / ดาวน์โหลด: 790)
ตอบกลับ