10-12-2015, 03:20 PM
การควบคุมโรคลำต้นเน่าของปาล์มน้ำมันโดยชีววิธี
ชนินทร ดวงสอาด, พรพิมล อธิปัญญาคม และสุณีรัตน สีมะเดื่อ
กลุ่มวิจัยโรคพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
จากการแยกเชื้อราเอ็นโดไฟท์จากต้นปาลมน้ำมันที่ไม่มีการเข้าทำลายของโรคและแมลง จากพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันจังหวัด กระบี่ สุราษฎรธานี และชุมพร โดยนำสวนของใบ ก้านใบ และรากมาฆ่าเชื้อที่ผิวด้วยวิธี triple surface sterilization รวมถึงดินบริเวณรอบราก ได้เชื้อราจำนวน 650 ไอโซเลท และสามารถจัดกลุมเบื้องต้นได้อย่างน้อย 7 taxa คือ Alternaria spp., Nigrospora sp., Pestalotiopsis sp., Fusarium spp., Neosartorya spp., Xylaria spp., Trichoderma spp. และ Mycelia Sterilia ทำการวัดอัตราการเจริญของเชื้อราเอ็นโดไฟท์และเชื้อรา Trichoderma spp. ที่แยกได้และเก็บรักษาเชื้อราดังกลาว และได้ทำการเก็บตัวอย่างชื้นสวนของต้นปาลมน้ำมันที่แสดงอาการของโรคลำต้นเน่า โดยแยกเชื้อรา Ganoderma boninense สาเหตุโรคลำต้นเน่าของปาลมน้ำมัน และเก็บรักษาเพื่อทำการทดสอบและคัดเลือกเชื้อราปฏิปักษ์ต่อไป
แยกราสาเหตุโรคลำต้นเน่าของปาล์มน้ำมัน จังหวัดกระบี่ สุราษฎรธานี จำนวน 7 ตัวอย่าง และจำแนกชนิดได้รา Ganoderma boninense จำนวน 5 isolates จากจังหวัดกระบี่ แต่ไม่สามารถแยกเชื้อสาเหตุเก็บเชื้อที่แยกได้ไว้ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส
ชนินทร ดวงสอาด, พรพิมล อธิปัญญาคม และสุณีรัตน สีมะเดื่อ
กลุ่มวิจัยโรคพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
จากการแยกเชื้อราเอ็นโดไฟท์จากต้นปาลมน้ำมันที่ไม่มีการเข้าทำลายของโรคและแมลง จากพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันจังหวัด กระบี่ สุราษฎรธานี และชุมพร โดยนำสวนของใบ ก้านใบ และรากมาฆ่าเชื้อที่ผิวด้วยวิธี triple surface sterilization รวมถึงดินบริเวณรอบราก ได้เชื้อราจำนวน 650 ไอโซเลท และสามารถจัดกลุมเบื้องต้นได้อย่างน้อย 7 taxa คือ Alternaria spp., Nigrospora sp., Pestalotiopsis sp., Fusarium spp., Neosartorya spp., Xylaria spp., Trichoderma spp. และ Mycelia Sterilia ทำการวัดอัตราการเจริญของเชื้อราเอ็นโดไฟท์และเชื้อรา Trichoderma spp. ที่แยกได้และเก็บรักษาเชื้อราดังกลาว และได้ทำการเก็บตัวอย่างชื้นสวนของต้นปาลมน้ำมันที่แสดงอาการของโรคลำต้นเน่า โดยแยกเชื้อรา Ganoderma boninense สาเหตุโรคลำต้นเน่าของปาลมน้ำมัน และเก็บรักษาเพื่อทำการทดสอบและคัดเลือกเชื้อราปฏิปักษ์ต่อไป
แยกราสาเหตุโรคลำต้นเน่าของปาล์มน้ำมัน จังหวัดกระบี่ สุราษฎรธานี จำนวน 7 ตัวอย่าง และจำแนกชนิดได้รา Ganoderma boninense จำนวน 5 isolates จากจังหวัดกระบี่ แต่ไม่สามารถแยกเชื้อสาเหตุเก็บเชื้อที่แยกได้ไว้ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส