12-23-2015, 03:12 PM
การจัดการวัชพืชของลำไย
จรัญญา ปิ่นสุภา, คมสัน นครศรี และวนิดา ธารธวิล
กลุ่มวิจัยวัชพืช สำนักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช
2) การไถพรวนร่วมกับการใช้ pendimethalin อัตรา 360 กรัม สารออกฤทธิ์ต่อไร่
3) การไถพรวน 1 ครั้ง ร่วมกับการใช้สารกำจัดวัชพืช pendimethalin อัตรา 360 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ ผสมกับสารกำจัดวัชพืช glyphosate อัตรา 480 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่
4) ปลูกปอเทืองคลุม
5) ปลูกถั่วพร้าคลุม
6) พ่น glyphosate อัตรา 480 กรัม สารออกฤทธิ์ต่อไร่
7) ตัดหญ้า
8) ไม่กำจัดวัชพืช
ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีการปลูกปอเทืองและกรรมวิธีการปลูกถั่วพร้าสามารถควบคุมวัชพืชได้ดีจนถึงระยะ 90 วัน
จรัญญา ปิ่นสุภา, คมสัน นครศรี และวนิดา ธารธวิล
กลุ่มวิจัยวัชพืช สำนักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช
การจัดการวัชพืชในสวนลำไย ได้ดำเนินการทดลองในแปลงปลูกของเกษตรกรที่ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างเดือนตุลาคม 2552 – กันยายน 2553 วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วย 8 กรรมวิธี ได้แก่
1) การไถพรวน 1 ครั้ง 2) การไถพรวนร่วมกับการใช้ pendimethalin อัตรา 360 กรัม สารออกฤทธิ์ต่อไร่
3) การไถพรวน 1 ครั้ง ร่วมกับการใช้สารกำจัดวัชพืช pendimethalin อัตรา 360 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ ผสมกับสารกำจัดวัชพืช glyphosate อัตรา 480 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่
4) ปลูกปอเทืองคลุม
5) ปลูกถั่วพร้าคลุม
6) พ่น glyphosate อัตรา 480 กรัม สารออกฤทธิ์ต่อไร่
7) ตัดหญ้า
8) ไม่กำจัดวัชพืช
ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีการปลูกปอเทืองและกรรมวิธีการปลูกถั่วพร้าสามารถควบคุมวัชพืชได้ดีจนถึงระยะ 90 วัน