10-12-2015, 03:38 PM
การเฝ้าระวังการแพร่กระจายของราน้ำค้างข้าวโพด Peronosclerospora philippinensis
ชนินทร ดวงสอาด, พรพิมล อธิปัญญาคม และสุณีรัตน์ สีมะเดื่อ
กลุ่มวิจัยโรคพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
จากการสำรวจพื้นที่ปลูกข้าวโพดส่งออกในประเทศไทยเพื่อติดตามสถานการณ์ของโรคราน้ำค้างที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Peronosclerospora philippinensis ระหว่างตุลาคม 2553 – กันยายน 2554 ในพื้นที่ปลูกข้าวโพด 17 จังหวัดได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี กระบี่ สตูล ตรัง สุโขทัย เลย เพชรบูรณ์ สระบุรี และขอนแก่น โดยพบข้าวโพดที่แสดงอาการของราน้ำคางที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Peronosclerospora sorghi และยังไม่พบตัวอย่างข้าวโพดที่แสดงอาการของโรคราน้ำคางที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Peronosclerospora philippinensis
ชนินทร ดวงสอาด, พรพิมล อธิปัญญาคม และสุณีรัตน์ สีมะเดื่อ
กลุ่มวิจัยโรคพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
จากการสำรวจพื้นที่ปลูกข้าวโพดส่งออกในประเทศไทยเพื่อติดตามสถานการณ์ของโรคราน้ำค้างที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Peronosclerospora philippinensis ระหว่างตุลาคม 2553 – กันยายน 2554 ในพื้นที่ปลูกข้าวโพด 17 จังหวัดได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี กระบี่ สตูล ตรัง สุโขทัย เลย เพชรบูรณ์ สระบุรี และขอนแก่น โดยพบข้าวโพดที่แสดงอาการของราน้ำคางที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Peronosclerospora sorghi และยังไม่พบตัวอย่างข้าวโพดที่แสดงอาการของโรคราน้ำคางที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Peronosclerospora philippinensis