การจัดทำฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบของเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลัง - printable_version +- คลังผลงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร (https://www.doa.go.th/research) +-- คลังข้อมูล: รายงานผลงานวิจัยและพัฒนา (https://www.doa.go.th/research/forumdisplay.php?fid=1) +--- คลังข้อมูล: ผลงานวิจัยและพัฒนา ปี 2561 (https://www.doa.go.th/research/forumdisplay.php?fid=34) +--- เรื่อง: การจัดทำฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบของเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลัง (/showthread.php?tid=2715) |
การจัดทำฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบของเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลัง - doa - 06-05-2019 การจัดทำฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบของเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลัง ประพิศ วองเทียม และสุวลักษณ์ อะมะวัลย์ การจัดทำฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบของเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลัง เป็นการจัดเก็บข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Breeding Management System (BMS) ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการจัดเก็บฐานข้อมูล สามารถป้องกันการสูญหายของข้อมูลที่มีอยู่ โดยบูรณาการ การใช้โปรแกรม Breeding Management System (BMS) เพื่อจัดเก็บข้อมูลลักษณะเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลัง ดำเนินการประเมินลักษณะในแปลงอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลัง 48 ลักษณะ จำนวน 200 พันธุ์ และบันทึกลงในโปรแกรม Excel เพื่ออัพโหลดเข้าโปรแกรม BMS ต่อไป
|