ปี 2562

1(1.5)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร โคลนอ้อยชุด 2550

1(1.6)การเปรียบเทียบมาตรฐาน โคลนอ้อยชุด 2551

1(1.9)การเปรียบเทียบมาตรฐาน โคลนอ้อยชุด 2552

1(1.12)การเปรียบเทียบมาตรฐาน โคลนอ้อยชุด 2553

1(1.14)การเปรียบเทียบเบื้องต้น โคลนอ้อยชุด 2554

1(1.24)การคัดเลือก โคลนอ้อยชุด 2557 เพื่อผลผลิตสูงและไว้ตอได้ดี

1(3.4)ศึกษารูปแบบการกลับมาติดเชื้อสาเหตุโรคใบขาว

1โครงการวิจัยออกแบบและพัฒนาเครื่องสางใบอ้อยสำหรับอ้อยตัดทำพันธุ์โดยใช้ระบบไฮดรอลิก(โครงการวิจัยเดี่ยว)

2(1.5)การเปรียบเทียบเบื้องต้นโคลนอ้อยชุดปี 2556

2โครงการวิจัยและพัฒนาระบบระบายน้ำใต้ดินในแปลงปลูกมันสำปะหลัง (โครงการวิจัยเดี่ยว)

3(1.6)การเปรีบบเทียบมาตรฐานพันธุ์อ้อยชุดปี 2554โคลนดีเด่นชุดปี 2553 (อ้อยตอ 1)

3(1.15)การคัดเลือกขั้นที่ 2 อ้อยชุอปี 2558 (อ้อยปลูก)

3(1.16)การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์อ้ยอในเขตชลประทานเพื่อผลผลิตและคุณภาพอ้อยชุดปี 2557 (อ้อยปลูก)

3(1.19)ศึกษาปฏิกิริยาของอ้อยโคลนดีเด่นต่อโรคแส้ดำอ้อยชุดปี 2555(อ้อยปลูก)

3(2.1)ศึกษาประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนของอ้อยอ้อยโคลนดีเด่นชุดปี 2553 (อ้อยตอ 1)

3(2.2)ศึกษาประสิทธิภาพการใช้น้ำของอ้อยโคลนดีเด่นชุดปี 2553(อ้อยปลูก)

3โครงการวิจัยพัฒนาระบบการผลิตวัตถุดิบจากเปลือกและซังข้าวโพดสำหรับอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (โครงการวิจัยเดี่ยว)

4(1.5)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินตื้น จังหวัดสระแก้ว

4โครงการวิจัยการพัฒนารูปแบบการใช้ปุ๋ยทุเรียนในการผลิตเชิงการค้า (โครงการวิจัยเดี่ยว)

5(2.1)ศึกษาความเข้มข้นของสารละลายเกลือสังกะสีและช่วงเวลาที่เหมาะสมในการแช่ท่อนพันธุ์อ้อย

5(4.1)การจัดทำแผนที่พื้นที่เสี่ยงภัยจากการระบาดของโรคใบขาวอ้อย

5(5.1)ผลของปริมาณเชื้อและสภาวะแวดล้อม่อการแสดงอาการใบขาวในอ้อยที่ติดเชื้อไฟโตพลาสมาโรคใบขาว

4โครงการวิจัยการพัฒนารูปแบบการใช้ปุ๋ยทุเรียนในการผลิตเชิงการค้า (โครงการวิจัยเดี่ยว)

5(5.3)การศึกษาผลของการฉายรังสีแกมม่าต่อการตอบสนองและการแสดงอาการโรคใบขาวในอ้อย

5โครงการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการลดการตกค้างของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในลำไยเพื่อการส่งออก

6(1.2)การผสมและคัดเลือกพันธุ์ ชุดที่ 2 ปี 2560

6(1.5)การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์อ้อยคั้น

6โครงการวิจัยและปรับปรุงพันธุ์มะม่วง

7(1.2)เปรียบเทียบพันธุ์อ้อยคั้นน้ำและคุณภาพ

7(1.3)ผลการใช้ปุ๋ยหมักมูลไก่แกลบ ปุ๋ยชีวภาพพ

7โครงการวิจัยทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงในจังหวัดเชียงใหม่ (โครงการวิจัยเดี่ยว)

8(1)ออกแบบ และพัฒนาเครื่องสางใบอ้อยสำหรับอ้อยตัดทำพันธุ์โดยใช้ระบบไฮดรอลิค

8โครงการวิจัยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชตระกูลกระชาย

10โครงการวิจัยพัฒนาเครื่องจักรกลหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปกาแฟระดับเกษตรกร

11โครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์มะพร้าว

12(1)การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์อ้อยอาหาร

12โครงการวิจัยพัฒนาเครื่องตัดขึ้นรูปและเครื่องอบแห้งสำหรับกระบวนการผลิตชาฝรั่ง (โครงการวิจัยเดี่ยว)

13โครงการวิจัยและพัฒนามะม่วงหิมพานต์ (ระยะที่ 2) (โครงการวิจัยเดี่ยว)

14(1.6)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง การคัดเลือกปีที่ 2 (ลูกผสมปี 2561)

14(1.10)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร (ลูกผสมปี 2557)

14(2.3)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อบริโภค การคัดเลือกปีที่ 2 (ลูกผสมปี 2560)

14(2.4)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อบริโภค เปรียบเทียบเบื้องต้น (ลูกผสมปี 2560)

14โครงการวิจัยการศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและการยอมรับเทคโนโลยีใหม่ทดแทน

15โครงการวิจัยการคัดเลือกสายพันธุ์มันเทศอายุเก็บเกี่ยวสั้น (โครงการวิจัยเดี่ยว)

16โครงการวิจัยและพัฒนาวิธีการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์

17(2.1)การเพิ่มศักยภาพการผลิตท่อนพันธุ์มันสำปะหลังคุณภาพในพื้นที่ตำบลทับช้าง ตำบลทุ่งขนาน อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี

17(2.2)การเพิ่มศักยภาพการผลิตท่อนพันธุ์มันสำปะหลังคุณภาพในพื้นที่ ตำบลวังท่าช้าง ตำบลกบินทร์ อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

17(2.3)การเพิ่มศักยภาพการผลิตท่อนพันธุ์มันสำปะหลังคุณภาพในพื้นที่ อำเภอบ้านฉาง

17(2.4)การเพิ่มศักยภาพการผลิตท่อนพันธุ์มันสำปะหลังคุณภาพในพื้นที่ ตำบลลาดกระทิง

17โครงการวิจัยทดสอบและพัฒนาระบบการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์เพื่ออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ในพื้นที่ภาคตะวันออก

18โครงการวิจัยเทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวตลอดกระบวนการผลิตของผลิตผลสด

19(1)วิจัยและพัฒนาระบบระบายน้ำใต้ดินในแปลงปลูกมันสำปะหลัง

19โครงการวิจัยเทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อรักษาคุณภาพเงาะพันธุ์โรงเรียน (โครงการวิจัยเดี่ยว)

20โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิต Startup ingredients สำหรับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์

21โครงการวิจัยเครื่องตรวจหาหอยศัตรูกล้วยไม้ด้วยการประมวลผลภาพ

22(1.1)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมันลูกผสมโดยการจัดการธาตุอาหาร

22(1.2)ผลของอาบัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาและจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตที่มีผลต่อการเจริญ เติบโตและการให้ผลผลิตของปาล์มน้ำมัน

22(1.6)ศึกษาประสิทธิภาพปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตในพื้นที่ทุ่งรังสิต

22(1.7)ผลกระทบของการลดปุ๋ยเคมี ต่อผลผลิตของปาล์มน้ำมันก่อนการปลูกทดแทน

22(2.4)อิทธิพลของคาร์บอนไดออกไซด์ต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาและการเจริญเติบโตของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน

22(3.1)การศึกษาระยะสุกที่เหมาะสมของปาล์มน้ำมันลูก ผสมกลับระหว่าง E. guineensis x E. oleifera

22โครงการวิจัยการปรับปรุงพันธุ์เบญจมาศโดยการฉายรังสีชุดที่ 12557 (โครงการวิจัยเดี่ยว)

23โครงการวิจัยการทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตห้อมที่เหมาะสมในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน

24(1)วิจัยและพัฒนาชุดตรวจสอบปาล์มน้ำมันลูกผสมชนิดเทเนอราโดยใช้เทคนิค Nucleic acid Lateral Flow

24โครงการวิจัยการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใบตองกล้วยตานี

25(2.11)การทดสอบการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมเพื่อเร่งการเจริญเติบโตปาล์มน้ำมันพื้นที่เกษตรกร จังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย กำแพงเพชร

25โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตวานิลา

26(1.5)การเปรียบเทียบในท้องถิ่นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุยาวพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง

26(2.5)การเปรียบเทียบในท้องถิ่นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุสั้นพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง

26โครงการวิจัยการทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสละในพื้นที่ภาคตะวันออก

27(5.2)การศึกษาระยะเวลาปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สายพันธุ์แท้พ่อและแม่ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์ดีเด่น

27โครงการวิจัยพันธุ์และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสะตอ (โครงการวิจัยเดี่ยว)

28(3.3)ศึกษาประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ LCAของการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลเพื่อผลิตไฟฟ้าและการผลิตเอทานอลจากเปลือกและซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

28โครงการวิจัยการปรับปรุงพันธุ์ถั่วหรั่งเพื่อปลูกในพื้นที่ภาคใต้และพื้นที่เหมาะสม

29(2.13)พัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลเพื่อจำแนกความเหนียวนุ่มของข้าวโพดข้าวเหนียวด้วยวิธี High-resolution melting (HRM) real-time PCR

29(2.14)ศึกษาระยะปลูกและอัตราปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ดีเด่น

29(3.1)การพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดฝักอ่อนลูกผสมเดี่ยว

29(3.3)การเปรียบเทียบในท้องถิ่นพันธุ์ข้าวโพด

29โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตยางพาราในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

30(1.2)การเปรียบเทียบมาตรฐาน พันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม ชุดปี 2561

30(1.4)การเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้น พันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม ชุดปี 2562

30(2.1)ช่วงวันปลูกสายพันธุ์พ่อ-แม่ข้าวโพดหวานพันธุ์สงขลา 84-1 ต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ในเขตภาคใต้

30โครงการวิจัยทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไม้ผลคุณภาพเพื่อการส่งออกในพื้นที่ภาคตะวันออก

31(1.12)ชนิด อัตราและระยะเวลาการใส่ปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมสำหรับการผลิต   ข้าวโพดหวานลูกผสมเพื่อบริโภคฝักสดในภาคใต้ : ชุดดินนาท่าม

31โครงการวิจัยทดสอบและพัฒนาการผลิตไม้ผลต้นฤดูในพื้นที่ภาคตะวันออก

32ชุดโครงการวิจัยการพัฒนาระบบการผลิตพืชในเขตภาคเหนือตอนล่าง

33โครงการวิจัยการพัฒนาการผลิตพืชบนพื้นที่สูงในเขตภาคเหนือตอนล่าง

34(1.5)ประสิทธิภาพของปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อผลผลิตถั่วเหลืองหลังนา

34(1.6)การจัดการธาตุอาหารที่เหมาะสมสำหรับถั่วเหลืองในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

34(2.7)ประสิทธิภาพของเชื้อรา Beauveria bassiasna และ Metarhizium anisop

34โครงการวิจัยการพัฒนาการผลิตพืชในพื้นที่นาในเขตภาคเหนือตอนล่าง

35โครงการวิจัยการพัฒนาการผลิตพืชในพื้นที่ดอนในเขตภาคเหนือตอนล่าง

36(2.13)ศึกษาอัตราประชากรที่เหมาะสมต่อการผลิตถั่วเขียวผิวดำสายพันธุ์ดีเด่น

36โครงการวิจัยการทดสอบเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการผลิตไม้ผลในเขตภาคเหนือตอนล่าง (โครงการวิจัยเดี่ยว)

37ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจหลักในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

38(1.4)การเปรียบเทียบมาตรฐาน: พันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดปานกลางเพื่อผลผลิตสูง ชุดที่ 2

38(3.3)ผลของปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมและปุ๋ยเคมีต่อผลผลิตถั่วลิสงฝักต้มในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

38โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อย

39โครงการวิจัยทดสอบเทคโนโลยีการผลิตในระบบการปลูกพืชในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน

40โครงการวิจัยเทคโนโลยีการจัดการดินปุ๋ยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืช (โครงการวิจัยเดี่ยว)

41โครงการวิจัยการศึกษาติดตามตรวจสอบมลพิษทางดินและเทคโนโลยีบำบัดดินในพื้นที่ปนเปื้อน (โครงการวิจัยเดี่ยว)

42(1.4)การผสมผสานการจัดการการผลิตเพื่อเพิ่มคุณภาพและลดการเกิดอาการไส้สีน้ำตาลของสับปะรดผลสดเพื่อการส่งออก (พันธุ์สวี และพันธุ์ MD2)

42(1.7)ศึกษาสัดส่วนและปริมาณการให้ธาตุอาหารหลักที่เหมาะสมต่อผลผลิตและคุณภาพสับปะรดภูแล

42(2.2)ผลของการฉายรังสีที่มีต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของสับปะรดผลสดเพื่อการส่งออก

42โครงการวิจัยการปรับปรุงพันธุ์กล้วยน้ำว้า ระยะที่ 2 (โครงการวิจัยเดี่ยว)

43โครงการวิจัยศึกษาศักยภาพการผลิตมะละกอจากต้นเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

44(5.1)การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทุเรียนพันธุ์จันทบุรี 1 2 และ 3 เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส

44โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์มะขามเปรี้ยว (ระยะที่ 2) (โครงการวิจัยเดี่ยว)

45โครงการวิจัยการปรับปรุงพันธุ์ฝรั่ง (โครงการวิจัยเดี่ยว)

46โครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องปูพลาสติกสำหรับสตรอเบอร์รี่

47โครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องคัดน้ำหนักผลสตรอเบอร์รี่

48(5)การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยทุเรียนตามค่าวิเคราะห์ดินและผลผลิตในแหล่งผลิตภาคใต้ตอนบน

48(6)การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยทุเรียนตามค่าวิเคราะห์ดินและพืชในแหล่งผลิตภาคตะวันออก

48โครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องมือผลิตวัสดุเพาะเห็ดแบบก้อนยาวด้วยเกลียวอัดจากกิ่งไม้ (โครงการวิจัยเดี่ยว)

49โครงการวิจัยเทคโนโลยีการปลูกผักเพื่อลดไนเตรทภายใต้สภาพโรงเรือน (โครงการวิจัยเดี่ยว)

50(4.1)ทดสอบการส่งออกลำไยที่ใช้วิธีทดแทนซัลเฟอร์ไดออกไซด์

50โครงการวิจัยพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบพืชดัดแปรพันธุกรรม

51โครงการวิจัยความหลากหลายการตรวจวิเคราะห์จำแนกชนิดและการใช้ประโยชน์

52(2)การศึกษาและคัดเลือกพันธุ์มะม่วงลูกผสมสายพันธุ์ใหม่เพื่อการส่งออก

52(3)ฐานข้อมูลลายพิมพ์ดีเอ็นเอของมะม่วงพันธุ์ไทย พันธุ์ต่างประเทศ และพันธุ์ลูกผสม เพื่อการใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์

52(4)การรวบรวม คัดเลือกและจำแนกพันธุ์มะม่วง

52โครงการวิจัยการผลิตรีคอมบิแนนท์เอนไซม์แอลฟาอะไมเลสและกลูโคอะเลสเพื่อใช้ในกระบวนการย่อยแป้ง (โครงการวิจัยเดี่ยว)

53(1)การทดสอบเทคโนโลยีป้องกันกำจัดกลุ่มอาการที่เกิดจากเชื้อราในผลมะม่วงโดยวิธีผสมผสาน จังหวัดเชียงใหม่

53(2)การทดสอบเทคโนโลยีป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟ เพลี้ยหอย และเพลี้ยแป้งศัตรูมะม่วงโดยวิธีผสมผสาน จังหวัดเชียงใหม่

54(1.2)การจัดการทรงพุ่มมังคุดต้นใหญ่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต(2559-2562)

56(1) ศึกษาอัตราปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพเมล็ดแมงลัก

57(1)การคัดเลือกอัญชันสายพันธุ์ลูกผสม

59(2.2)การเปรียบเทียบสารละลายธาตุอาหารที่เหมาะสมในการผลิตปัญจขันธ์ในโรงเรือนระบบแอโรโพนิกส์เพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิต

60(1.4)ทดสอบพันธุ์ลาเวนเดอร์ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในระดับต่างๆ

60(2.1)การทดสอบการปลูกหญ้าหวานร่วมกับกาแฟอะราบิกา

60(2.2)การทดสอบการปลูกหญ้าหวานร่วมกับพลับ

60(2.3)การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลผลิตสมุนไพรเมืองหนาวหญ้าหวานและโกฐเชียงที่ปลูกแบบใช้ปุ๋ยเคมีและแบบอินทรีย์

62(2.1)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกระชาย

64(1.1)การเปรียบ เทียบพันธุ์ฟักข้าวลูกผสม

67(1.5)รูปแบบการใช้สารฆ่าแมลงโดยการหมุนเวียนกลุ่มสารตามกลไกออกฤทธิ์เพื่อป้องกันกำจัดหนอนใยผักในกะหล่ำปลี

67(1.9) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางสัณฐานของข้าวนก(Echinochloa crus-galli (L.) Beauv) กับความต้านทานต่อสารกำจัดวัชพืช quinclorac

67(1.11)สถานการณ์ความต้านทานสารกำจัดวัชพืชของวัชพืชในแหล่งปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่สำคัญและการจัดการ

67(1.12) ความเป็นพิษของสารฆ่าแมลงชนิดต่างๆ ต่อเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis Hood ในมะนาว

67(2.3)ความต้านทานและการจัดการสารกำจัดไรในไรแมงมุมคันซาวา Tetranychus kanzawai Kishida ในกุหลาบ

68(1.1)พัฒนาเทคนิคการพ่นสารชีวภัณฑ์ในการป้องกันกำจัดด้วงเจาะเห็ด (Cyllodes biplagiatus) ในเห็ดนางฟ้าช่วงเก็บเกี่ยว

68(1.2)พัฒนาเทคนิคการพ่นสารในการป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่นฝ้ายศัตรูกระเจี๊ยบเขียว

68(1.5)พัฒนาเทคนิคการพ่นสารด้วยคานหัวฉีดแบบต่างๆ ในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูที่สำคัญในกล้วยไม้

68(2.4)ประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชประเภทพ่นก่อนวัชพืชงอก (Preemergence herbicide) ผสมร่วมกับสารประเภทพ่นหลังวัชพืชงอก(Post-emergence herbicide) เพื่อกำจัดวัชพืชในมันสำปะหลัง

68(2.5)ประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชประเภทพ่นก่อนวัชพืชงอก (pre-emergence herbicide)  ผสมร่วมกับประเภทพ่นหลังจากวัชพืชงอก (post-emergence herbicide) ในอ้อย

69(2.4)การบริหารแมลงศัตรูกะหล่ำปลีโดยวิธีผสมผสาน

70(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องพ่นสารแบบแรงดันลมเพื่อป้องกันศัตรูข้าว

72(1.1)ทดสอบพันธุ์กาแฟอะราบิกาสายพันธุ์คาร์ติมอร์ต้านทานโรครา

72(1.2)เปรียบเทียบกาแฟอะราบิกาชุดที่ 2/2 กับพันธุ์นำเข้าจากต่างประเทศ

72(1.3)ทดสอบกาแฟอะราบิกาพันธุ์คัดเลือกชุดที่ 2/2 ในแหล่งต่างๆ

72(1.8)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสมชั่วที่ 1 ชุดที่ 3/2

72(1.9)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสมชั่วที่ 1 ชุดที่ 3/3

73(2.1)ศึกษาปริมาณการให้น้ำแบบหยดกับกาแฟอะราบิกาัอการเจริญเติบโตและผลผลิตางด้านรเจริญพัฒนานช่วงฤดูแล้งในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน

74(4.1)วิจัยและพัฒนาชุดเครื่องจักรกลสำหรับแปรรูปผลสดกาแฟอะราบิการะดับเกษตรกร

76(2.1)การศึกษาการหมักกาแฟด้วยจุลินทรีย์ในระบบแอนแอโรบิก(ไม่ใช้ออกซิเจน)

81(1.2)โครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์มะพร้าว

81(2.2)ศึกษาการใช้ประโยชน์จากสารสกัดแทนนินจากเปลือกมะพร้าว ต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของแมลงศัตรูมะพร้าวและผลกระทบต่อแตนเบียนควบคุมแมลงศัตรูมะพร้าว

81(2.3)การศึกษาประสิทธิภาพของสารแทนนินที่สกัดได้จากเปลือกมะพร้าวในการการบำบัดคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปมะพร้าว

82(2.6)การทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟในชา

82(4.1)การคัดเลือกพันธุ์ชากลุ่มพันธุ์ชาอัสสัมในพื้นที่ภาคใต้

83(1)วิจัยพัฒนาเครื่องตัดขึ้นรูปชาฝรั่งสำหรับแปรรูปชาฝรั่ง

83(2)วิจัยพัฒนาเครื่องอบแห้งชาฝรั่ง

84(2.6)ทดสอบเทคโนโลยีการจัดการสัตว์ฟันแทะศัตรูมะคาเดเมียโดยวิธีผสมผสาน

86(1.1)การเปรียบเทียบพันธุ์มะม่วงหิมพานต์ในแหล่งปลูกต่าง ๆ

88(1.2.1)การทดสอบปฏิกิริยาของเชื้อพันธุกรรมมันฝรั่งที่มีต่อเชื้อรา Phytophthora infestans

88(1.2.2)การทดสอบปฏิกิริยาของพันธุ์มันฝรั่งต่อเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวของมันฝรั่ง

88(1.2.3)การทดสอบปฏิกิริยาของเชื้อพันธุกรรมมันฝรั่งต่อไส้เดือนฝอยรากปม

88(1.2.4)การทดสอบความต้านทานของพันธุ์มันฝรั่งต่อเชื้อไวรัส Potato virus Yn (PVY strain n)

88(2.1.2)ผลของกรดจัสโมนิกต่อผลผลิตและคุณภาพหัวมันฝรั่ง

90(1.2)ศึกษาการใช้ปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกขี้หนูผลใหญ่

90(2.2)การเพิ่มผลผลิตพริกใหญ่และลดการใช้ปุ๋ยเคมีด้วยปุ๋ยชีวภาพในสภาพไร่

90(3.1)การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์กับพริกขี้หนูผลใหญ่ในพื้นที่ภาคตะวันตก

91(1)(ศึกษาเทคโนโลยีการผลิตหัวพันธุ์ขิงปลอดโรค G3 G4 และ G5 ในสภาพไร่และแปลงเกษตรกร

92(2.1)การทดสอบพันธุ์มะเขือเทศรับประทานสดผลเล็ก (สีดา) เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพในฤดูฝนในท้องถิ่นต่างๆ และในไร่เกษตรกร (2559-2562)

92(3.1)การทดสอบพันธุ์มะเขือเทศรับประทานสดผลใหญ่เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพในฤดูฝนในท้องถิ่นต่างๆ และในไร่เกษตรกร (2559-2562)

93(1.4)การทดสอบพันธุ์กระเจี๊ยบเขียวชุดที่ 1 ในพื้นที่ภาคกลางและตะวันตก

94(3)ศึกษาความต้องการธาตุอาหารและการจัดการปุ๋ยต่อผลผลิตและ คุณภาพกะหล่ำดอก

94(4)ศึกษาความต้องการธาตุอาหารและการจัดการปุ๋ยต่อผลผลิตและคุณภาพบร็อคโคลี

94(5)ศึกษาความต้องการธาตุอาหารและการจัดการปุ๋ยต่อผลผลิตและคุณภาพมันเทศ

97(1.1)การผสมและคัดเลือกพันธุ์ ถั่วฝักยาวสีม่วง

100(1.2)เปรียบเทียบความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของการใช้เทคโนโลยีเก็บเกี่ยวกาแฟโรบัสตาด้วยเครื่องเก็บเกี่ยวขนาดเล็กแบบพกพา กับเทคโนโลยีเก็บเกี่ยวของเกษตรกร

100(2.3)ศึกษาการยอมรับพันธุ์พืชผัก และสมุนไพรพันธุ์แนะนำของกรมวิชาการเกษตร

103(3)ทดสอบพันธุ์มันเทศอายุเก็บเกี่ยวสั้นในไร่เกษตรกร

104(1.5)การทดสอบพันธุ์มันเทศลูกผสมเนื้อสีม่วง

105(2.1)การทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวในชาโยเต้

105(2.2)ศึกษาการป้องกันกำจัดโรคราน้ำค้างในชาโยเต้

106(1.12)ศึกษาอายุการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 2

106(1.20)ผลของบราสสิโนสเตียรอยด์ต่อผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองภายใต้สภาวะแห้งแล้ง

106(1.21)ผลของบราสสิโนสเตียรอยด์ต่อผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ถั่วเขียวภายใต้สภาวะแห้งแล้ง

106(1.22)การศึกษาระยะสุกแก่ทางสรีระวิทยาที่มีผลต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูหัวเรือเบอร์ 13 และเบอร์ 25

106(1.26)ศึกษาระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิต เมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีนโดยการปลูกด้วยเมล็ดในสภาพไร

106(2.2)ผลของระยะเก็บเกี่ยวต่อการลดความชื้นและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง

106(2.12)ประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดเชื้อราบางชนิดต่อการป้องกัน

106(2.13)ประสิทธิภาพสารคลุกเมล็ดป้องกันกำจัดด้วงงวงข้าวโพด (Sitophilus zeamais Motschulsky) ที่มีผลต่อคุณภาพ  ระหว่างการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

108(1.3)การศึกษาวิธีการใช้ความร้อนทำลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสง

108(1.4)เปรียบเทียบวิธีการตรวจสอบความแข็งแรงในห้องปฏิบัติการกับความสามารถในการงอกได้ในไร่ของเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง

108(1.7)การตรวจสอบเชื้อ Pospiviroid ในเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อการนำเข้า-ส่งออกด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุล

108(1.8)การศึกษาวิธีการตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์กาแฟในห้องปฏิบัติการ

108(1.9)การศึกษาวิธีการตรวจสอบคุณภาพที่มีประสิทธิภาพในการประเมินอายุการเก็บรักษาของเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวาน

109(5) ประสิทธิภาพของเชื้อแอคติโนมัยซีสในการควบคุมโรคที่สำคัญทางเศรษฐกิจในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์

110(1)อิทธิพลของ NAA และระยะปลูกที่เหมาะสมสำหรับการผลิตหัวพันธุ์มันฝรั่งชั้น pre-basic seed (G0) ในระบบแอโรโปนิค

112(4)ทดสอบการใช้พันธุ์มันสำปะหลังและปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพมันสำปะหลังในระบบอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดสระแก้วและ ปราจีนบุรี

112(5)ทดสอบการใช้พันธุ์มันสำปะหลังและปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพมันสำปะหลังในระบบอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี

115(2.4)ทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดพืช สะเดา ว่านน้ำ และหางไหล(Azadirachtin, β-asarone and Rotenone) ที่มีต่อแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติที่พบในแปลงคะน้า (2561-2562)

118(2.3)ศึกษาปริมาณสารกลุ่มโครมีนและไอโซฟลาโวนอยด์ในกวาวเครือที่อายุเก็บเกี่ยวต่าง ๆ

119(1.1)การจัดการแคลเซียมเพื่อรักษาคุณภาพผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว

120(2)เทคโนโลยีการลดความสูญเสียระหว่างขั้นตอนหลังการเก็บเกี่ยวมังคุดในภาคตะวันออก

120(3)เทคโนโลยีการรักษาคุณภาพและเพิ่มมูลค่าไม้ตัดดอกเพื่อการส่งออก

122(1.5)วิธีการใช้สารกลุ่มปลอดภัยควบคุมโรคเน่าและยืดอายุการเก็บรักษาไม้ตัดดอกหลังการเก็บเกี่ยว: ดาวเรือง มะลิ หน้าวัว เบญจมาศ

122(2.3)การควบคุมโรคแอนแทรคโนสของพริกหลังการเก็บเกี่ยวด้วยน้ำมันระเหยง่ายจากพืช

122(3.2)การควบคุมโรคแอนแทรคโนสของพริกขี้หนูหลังการเก็บเกี่ยวโดยการใช้น้ำร้อน

122(3.3)การใช้รังสียูวีซีในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของพริกขี้หนูหลังการเก็บเกี่ยว

123(1.2)ศึกษาความสัมพันธ์ของปริมาณเสี้ยนดิน Dorylus orientalisWestwood (Hymenoptera: Formicidae) ต่อการปนเปื้อนสารอะฟลาทอกซินในเมล็ดถั่วลิสง

123(2.2)การพัฒนาชีวภัณฑ์ Bacillus subtilis ในการควบคุมเชื้อราและสารพิษจากเชื้อรา

124(1.1)การทดสอบความเป็นพิษของสารรมอีโคฟูมต่อแมลงศัตรูผลิตผลเกษตร

124(1.3)การศึกษาอัตราและระยะ เวลาทีเหมาะสมของสารรมอีโคฟูม (ECO2FUME) ในการรมเพื่อกำจัดมอดหนวดยาวสายพันธุ์ที่ต้านทานต่อสารรมฟอสฟีน

124(2.2)การใช้ diatomaceous earth ควบคุมแมลงศัตรูถั่วเขียวหลังการเก็บเกี่ยว

124(5.4)การจัดการเพลี้ยแป้งลองกอง (Exallomochus hispidus (Morrison))

125(1)การประเมินการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวเงาะพันธุ์โรงเรียน

125(2)ผลกระทบของ Vapor Pressure Deficits ต่อการเปลี่ยนแปลง ทางสรีรวิทยาและชีวเคมีของเงาะหลังการเก็บเกี่ยว

125(3)การจัดการเพลี้ยแป้งลาย (Ferrisia virgata (Cockerell)) บนผลเงาะหลังการเก็บเกี่ยว

125(4)การใช้ชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ควบคุมเงาะพันธุ์โรงเรียน

125(5)ทดสอบเทคโนโลยีเพื่อลดการสูญเสียระหว่างการขนส่งและการเก็บรักษาเงาะพันธุ์โรงเรียน

126(1.5)การประเมินเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ด้วยเทคนิค Near Infrared Spectroscopy

128(1.1)การผลิตแคปไซซินผงและแคโรทีนอยด์ผงจากพริกใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเสริม

128(1.2)การผลิตมะนาวผง น้ำมันหอมระเหย และเพคตินจากมะนาวในรูปไมโคร-นาโนแคปซูล

128(2.1)การผลิตฟิล์มต้านจุลินทรีย์ที่ผสมสารสกัดจากธรรมชาติ

129(1)การผลิตสารให้กลิ่นรสจากน้ำผลไม้เข้มข้นพรีไบโอติกสูง

129(2)การผลิตสารยับยั้งเอนไซม์แอลฟ่า-กลูโคซิเดสโดยวิธีเอนแคปซูเลชัน

129(3)การผลิตเนยเมล็ดมะมะม่วงเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง

130(1.1)การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มวุ้นน้ำผลไม้พร้อมดื่มแคลอรี่ต่ำบรรจุรีทอร์ตเพาช์โดยใช้หญ้าหวานให้ความหวาน

130(2.1)การใช้ประโยชน์เพคตินจากเปลือกมะม่วงและเปลือกเสาวรสเป็น สารทดแทนไขมันในผลิตภัณฑ์อาหารลดไขมัน

132(1.9)การผลิตขยายและใช้หอยตัวห้ำวงศ์ Streptaxidae ควบคุมหอยทากศัตรูพืชโดยชีววิธี

132(1.13)การใช้ไส้เดือนฝอย S. Riobraveควบคุมด้วงหมัดผักในคะน้า

132(1.14)ประสิทธิภาพของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง Steinernema riobrave ในการควบคุมด้วงงวงมันเทศ Cylas formicarius

132(1.15) ประสิทธิภาพของของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง Steinernema ในการควบคุมด้วงเจาะเห็ด Cyllodes biplagiatus

132(1.24)ศึกษารูปแบบบรรจุภัณฑ์มวนพิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) ที่เหมาะสมเพื่อการนำไปใช้ประโยชน์

132(1.27)การใช้ชีวภัณฑ์ในการควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าวในมะพร้าว

132(1.28)การศึกษาระดับความเป็นพิษของไวรัส NPV ต่อหนอนผีเสื้อศัตรูพืช

132(1.29)ศึกษาอัตราการใช้ไวรัส NPV ในการควบคุมหนอนกระทู้หอมในหอมแบ่งด้วยวิธีการพ่นสารแบบน้ำน้อย

132(1.30)การใช้ไวรัส NPV ในการควบคุมหนอนกระทู้ผัก (Spodoptera litura (Fabricius)) ในเผือก

132(1.32)การเปรียบเทียบประสิทธิ ภาพรูปแบบการใช้ชีวภัณฑ์ราเขียวเมตาไรเซียมในการควบคุมด้วงแรดในสภาพไร่

132(1.33)ประสิทธิภาพของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงในการควบคุมแมลงนูนหลวงLepidiota stigma Fabricius

134(1.12)ศึกษาชนิดและศักยภาพของแตนเบียนเพลี้ย

134(2.4)การทดสอบอัตราที่เหมาะสมของสารปฏิชีวนะบางชนิดในการควบคุมโรคกรีนนิ่งในต้นกล้าและกิ่งตอนส้ม

134(2.6)การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเน่าดำของคะน้า

134(2.7)การคัดเลือกเชื้อ Bacillus spp. และ Streptomyces spp. ที่มีศักยภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในพริก

137(3.5)ศึกษาประสิทธิภาพของการใช้สารฆ่าแมลงแบบเดี่ยวและแบบผสม

137(3.7)พัฒนารูปแบบการใช้สารฆ่าแมลงโดยการหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์เพื่อป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟฝ้าย ในกล้วยไม้สกุลหวาย

139(1.5)การเก็บรักษาละอองเรณูของกล้วยไม้รองเท้านารีอินทนนท์ลาวเพื่อการปรับปรุงพันธุ์

139(1.6)ระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับการผสมเกสรรองเท้านารีอินทนนท์ลาว

139(2.1)เทคนิคการขยายพันธุ์กล้วยไม้รองเท้านารีหนวดฤาษีโดยการเพาะเมล็ดในสภาพปลอดเชื้อ

140(4.1)ทดสอบพันธุ์กล้วยไม้สกุลม็อคคาร่าที่มีศักยภาพสำหรับปลูกในภาคเหนือ ตอนบน

142(1.1)การศึกษาพัฒนาเครื่องตรวจหาหอยศัตรูกล้วยไม้ต้นแบบ

142(1.2)การทดสอบเครื่องตรวจหาหอยศัตรูกล้วยไม้ต้นแบบกับรูปแบบช่อกล้วยไม้

143(4.2)คัดเลือกและประเมินปทุมมาลูกผสมสายพันธุ์ทนทานต่อโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

145(3.3)เทคนิคการเก็บรักษาหัวพันธุ์หงส์เหินเพื่อใช้ผลิตนอกฤดูแบบครบวงจร

147(1.2)การชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์ ดาวเรือง บานชื่น พิทุเนีย และ แพงพวย

149(4) ทดสอบพันธุ์เบญจมาศตัดดอกพันธุ์คัดชุดที่ 1 /2557 ในแหล่งปลูกเบญจมาศ

149(5) ทดสอบพันธุ์เบญจมาศตัดดอกพันธุ์คัดชุดที่ 1 /2557 ในแหล่งปลูกเบญจมาศ

150(4.2) เปรียบเทียบสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อชิ้นส่วนเจริญของเฟินเขากวางตั้ง

153(2.1)การจัดทำแปลงต้นแบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตห้อมที่เหมาะสม

157(1.1)อิทธิพลของอุณหภูมิน้ำ เวลาแช่ใบห้อม และปริมาณปูนที่มีผลต่อปริมาณและ คุณภาพเนื้อห้อม

157(1.2)การเตรียมน้ำย้อมห้อมที่เหมาะสมสำหรับการย้อมผ้า

157(2.1)อิทธิพลของสังกะสีในการผลิตเนื้อห้อมให้ได้สีย้อมที่มีคุณภาพ

159(2)ทดสอบเทคโนโลยีการฟื้นฟูสวนส้มเกลี้ยงสภาพเสื่อมโทรมเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ พื้นที่จังหวัดลำปาง

161(1.1)ศึกษาเปรียบเทียบสายต้นมะปรางหวานเพื่อการค้าระยะที่ 2

161(1.2)ศึกษาเปรียบเทียบสายต้นมะยงชิดเพื่อการค้าระยะที่ 2

161(2.1)ศึกษาระยะปลูกและวิธีการตัดแต่งกิ่งที่เหมาะสมของมะปรางระยะที่ 2

162(1.2) การทดสอบเทคโนโลยีการกำจัดด้วงเต่ากินใบกล้วยที่เหมาะสมในการผลิตใบตองกล้วยตาน

162(1.4)การทดสอบเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตใบตองกล้วยตานี

163(1.1)ศึกษาการให้ปุ๋ยที่เหมาะสมกับช่วงการเจริญเติบโตของวานิลา

166(2) ศึกษาประสิทธิภาพและวิธีการใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืชที่เหมาะสมในการป้องกันกำจัดโรคกิ่งแห้งของน้อยหน่า

167(2)การทดสอบวิธีการป้องกันและกำจัดศัตรูมะขามเทศในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา

172(3)การทดสอบการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อทดแทนการผสมเกสรสละ จ.จันทบุรี

172(4)การทดสอบการตัดแต่งช่อผลสละ (กระปุก) จ.จันทบุรี

173(3)ศึกษาเทคโนโลยีการชักนำให้สำรองออกดอกในสภาพในแปลงปลูก

174(1.2)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงหิมพานต์ในพื้นที่จังหวัดตราด

174(1.3)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงหิมพานต์ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี

175(1)ศึกษาเทคโนโลยีการผลิตไผ่ตงศรีปราจีน

178(1)ศึกษาอัตราปุ๋ยอินทรีย์และอายุการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพน้ำมันหอมระเหยของเปราะหอม

178(2)ศึกษาอัตราปุ๋ยอินทรีย์และอายุการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพน้ำมันหอมระเหยของว่านนางคำ

179(1)ศึกษาเปรียบเทียบวัสดุเพาะเพื่อผลิตต้นอ่อนผักกระชับ

180(1.1)สำรวจสภาพพื้นที่ ศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะประจำพันธุ์ของลางสาดเกาะสมุย

182(1)การสำรวจ คัดเลือกและรวบรวม สายต้นทุเรียนพันธุ์พื้นเมืองในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

183(1.1)การสำรวจ รวบรวม และคัดเลือกสายต้นมะม่วงเบาในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

183(2.1)การสำรวจ รวบรวม และคัดเลือกสายต้นมะม่วงเบาในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

184(1.1)ศึกษาศักยภาพพื้นที่ปลูกแตงโมบ้านทุ่งอ่าว

193(1.1)การทดสอบสายต้น (Clone) สะตอในพื้นที่จังหวัดตรัง

193(1.2)การทดสอบสายต้น (Clone) สะตอในพื้นที่จังหวัดชุมพร

193(1.3)การทดสอบสายต้น (Clone) สะตอในพื้นที่จังหวัดราธิวาส

194(3.1)การเก็บรักษาถั่วหรั่งในน้ำเกลือเพื่อการบริโภค

194(3.2)การทำผลิตภัณฑ์ในซอสมะเขือเทศ

195(1.2.1)การผสมพันธุ์คัดเลือกและสร้างความคง ทางพันธุกรรม

195(2.3.5)การทดสอบพันธุ์ในไร่เกษตรกรสายพันธุ์ถั่วหรั่งจากการผสมพันธุ์ชุดที่ 1

195(2.5.3)การเปรียบเทียบในท้องถิ่นสายพันธุ์ถั่วหรั่งจากการผสมพันธุ์ชุดปี 51-52

195(3.3.1)การศึกษาวิธีเขตกรรมที่ เหมาะสม สำหรับถั่วหรั่งที่ได้จากการผสมพันธุ์ชุดที่ 1

196(1.3)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์มันขี้หนู

197(2.1)ทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรครากขาวของยางพาราในพื้นที่จังหวัดสงขลา

200(3.3)การนำวัสดุเศษเหลือจากการผลิตแป้งสาคูมาใช้เป็นวัสดุเพาะเห็ดหูหนู

203(6.2)ทดสอบความต้าน ทานของปาล์มน้ำมันพันธุ์การค้าต่อโรคโคนเน่าสาเหตุจากเชื้อ Ganoderma sp.

205(1.1)การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตยางพาราตามพื้นที่ความเหมาะสมของดินในเขตภาคใต้ตอนบน

205(2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการควบคุมโรครากขาวยางพาราโดยเกษตรกรมีส่วนร่วมในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

206(1)การศึกษารูปแบบห่วงโซ่อุปทานการผลิตมะพร้าว

207(1)(กล้วยไข่)การทดสอบวัสดุห่อผลเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตกล้วยไข่ส่งออกในพื้นที่จังหวัดตราด

207(1)(ลองกอง)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตลองกองคุณภาพเพื่อการส่งออก

207(1)(ลำไย)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพเพื่อการส่งออกในพื้นที่ภาคตะวันออก

207(2)(กล้วยไข่)การทดสอบวัสดุห่อผลเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตกล้วยไข่ส่งออกในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี

207(2)(มะม่วง)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งในมะม่วงเพื่อการส่งออก

207(2)(แมลงวันผลไม้)ทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดหอยทาก เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย และแมลงวันผลไม้ในลองกองเพื่อการส่งออก

207(3)(ทางเรือ)จำลองการส่งออกโดยทางเรือประเทศจีน

207(3)(มะม่วง)ทดสอบเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มคุณภาพมะม่วงในพื้นที่ปลูกใหม่

208(1.2)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตมังคุดต้นฤดูในพื้นที่ภาคตะวันออก

208(2.2)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเงาะต้นฤดูในพื้นที่ภาคตะวันออก

210(1.1)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟโดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วม ในพื้นที่จังหวัดตาก

210(1.2)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ

210(1.3) การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะคาเดเมีย โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ

210(1.4)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสตรอว์เบอร์รีในเขตภาคเหนือตอนล่าง

210(1.6)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตชาโยเต้โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ

210(2.1)การทดสอบการป้องกันกำจัดศัตรูพืชกะหล่ำปลีบนพื้นที่สูงในพื้นที่จังหวัดตากพิษณุโลก และเพชรบูรณ

210(2.2)การทดสอบการป้องกันกำจัดศัตรูพืชสตรอว์เบอร์รีบนพื้นที่สูงในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก และเพชรบูรณ

211(1)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของระบบการปลูกพืชข้าว-ข้าวโพด โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

211(2) การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของระบบการปลูกพืชข้าว-ข้าวโพดโดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์

211(4)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว-หอมแดง โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์

211(5)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของระบบการปลูกพืชข้าว-ข้าวโพดโดยเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดพิจิตร

211(6)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของผลิตข้าว-ถั่วลิสง โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์

212(1.5)แปลงต้นแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ปุ๋ยอ้อยโรงงานอย่างถูกต้องและเหมาะสมในกลุ่มชุดดินที่ 33

212(1.6)แปลงต้นแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ปุ๋ยอย่างถูกต้องและเหมาะสมในกลุ่มชุดดินที่ 7

212(1.7)แปลงต้นแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้องและเหมาะสมในกลุ่มชุดดินที่ 54

212(1.8)แปลงต้นแบบการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้องและเหมาะสมในกลุ่มชุดดินที่ 46

213(1.1)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อส่งออก โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในสภาพพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

213(1.2)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อส่งออก โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในสภาพพื้นที่จังหวัดสุโขทัย

213(1.3)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อส่งออก

213(1.4)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะม่วงพันธุ์เขียวเสวย โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในสภาพพื้นที่ยกร่องจังหวัดกำแพงเพชร

213(2.1)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตลองกอง โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในสภาพพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์

213(3.1)การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันและกำจัด หนอนเจาะเมล็ดทุเรียนแบบผสมผสานในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง

217(1.2.1)ทดสอบและพัฒนาการจัดการดิน ปุ๋ย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดร้อยเอ็ด

217(1.2.2)ทดสอบและพัฒนาการจัดการดิน ปุ๋ย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดมหาสารคาม

217(1.2.3)ทดสอบและพัฒนาการจัดการดิน ปุ๋ย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดนครราชสีมา

217(1.2.5)ทดสอบและพัฒนาการจัดการดิน ปุ๋ย  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดสุรินทร์

217(1.2.4)ทดสอบและพัฒนาการจัดการดิน ปุ๋ย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดสุรินทร์

217(1.2.6)ทดสอบและพัฒนาการจัดการดิน ปุ๋ย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตน้ำฝนจังหวัดอำนาจเจริญ

217(1.2.7)ทดสอบและพัฒนาการจัดการดิน ปุ๋ย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดศรีสะเกษ

217(1.2.8)ทดสอบและพัฒนาการจัดการดิน ปุ๋ย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดนครราชสีมา (สี่คิ้ว)

217(1.2.9)ทดสอบและพัฒนาการจัดการดิน ปุ๋ย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย ในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดยโสธร

217(1.3.1)พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดร้อยเอ็ด

217(1.3.2)พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดมหาสารคาม

217(1.3.3)พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดนครราชสีมา (โนนสูง)

217(1.3.4)พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดบุรีรัมย์

217(1.3.5)พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีเพื่อประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าว ที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดสุรินทร์

217(1.3.6)พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดอำนาจเจริญ

217(1.3.7)พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าว ที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดศรีสะเกษ

217(1.3.8) พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดนครราชสีมา (สี่คิ้ว)

217(1.3.9)พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดยโสธร

219(1.1)ทดสอบเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตในระบบการผลิตข้าว-ถั่วลิสงจังหวัดลำปาง

219(2.2)วิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในระบบข้าว-ถั่วเหลือง จังหวัดเชียงใหม่

219(3.1)การจัดการธาตุอาหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบการผลิตข้าว-กระเทียม-ผักจังหวัดลำพูน

222(1.2)การเปรียบเทียบพันธุ์กกในพื้นที่ชุ่มน้ำจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดขอนแก่น

222(4.2)การศึกษาความคงสภาพของเส้นใยดาหลาและอายุการเก็บรักษาของเส้นใยดาหลาในสภาพการเก็บรักษาที่แตกต่างกัน

222(6.1)ศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและประเมินศักยภาพของเตยหนาม

226(1)ผลของปุ๋ยอินทรีย์ต่อความเป็นประโยชน์ของไนโตรเจนในดิน

226(2)ผลของวัสดุอินทรีย์ที่มีแทนนินเป็นองค์ประกอบในการยับยั้งกระบวนการไนตริฟิเคชั่น (Nitrification) ของปุ๋ยไนโตรเจน

226(3)ผลของวัสดุอินทรีย์ที่มีสารในกลุ่ม เมเลียซินเป็นองค์ประกอบในการยับยั้งกระบวนการไนตริฟิเคชั่น (Nitification) ของปุ๋ยไนโตรเจน

228(2)การศึกษาการแพร่กระจายของแคดเมียม ตะกั่ว และสารหนูในพื้นที่การเกษตรจังหวัดเลย

228(3)การศึกษาการปนเปื้อนของแคดเมียมและตะกั่วในพื้นที่สวนผลไม้และแนวทางลดการสะสมของโลหะหนักในพืชที่ปลูกในพื้นที่ปนเปื้อน

228(4)การศึกษาเทคโนโลยีบำบัดดินเพื่อลดการดูดซึมธาตุแคดเมียมของข้าวในพื้นที่การเกษตรที่ปนเปื้อนแคดเมียม

231(1.1)ความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อม โรคใบขาว และความเสียหายของอ้อย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

231(1.3)ความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อม หนอนกอลายจุดเล็ก และความเสียหายของอ้อย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

231(3.1)ความเสียหายและปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการระบาดของแมลงนูนหลวง

233(1.2)การวิเคราะห์วอเตอร์ฟุตปริ๊นท์ของการผลิตปาล์มน้ำมันภาคใต้

233(4.1)การวิเคราะห์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของการผลิตน้ำมันปาล์มดิบแบบ  มาตรฐาน (หีบแยก)

233(4.2)การวิเคราะห์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของการสกัดน้ำมันปาล์มดิบระดับชุมชน

233(5.1)การวิเคราะห์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของการผลิตกาแฟโรบัสตา

235(1.1)การศึกษาประชากรและจำแนกชนิดของแบคทีเรีย ในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย

235(1.2)การศึกษาประชากรและจำแนกชนิดของราดินในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย

235(1.3)การศึกษาประชากรและจำแนกชนิดของแอคติโนมัยสีทในพื้นที่ ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย

235(2.1)การศึกษาศักยภาพของไรโซเบียมที่แยกได้จากพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย

235(2.2)การศึกษาศักยภาพของแบคทีเรียส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชที่แยกได้จากพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย

235(2.3)การศึกษาศักยภาพของราดินที่แยกได้จากพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย

235(2.4)การศึกษาศักยภาพของแอคติโนมัยสีทที่แยกได้จากพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย

235(2.6)การศึกษาศักยภาพของจุลินทรีย์ผลิตเอ็นไซม์ Cellulase และ Chitinase ที่แยกได้จากพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย

236(1.1)การพัฒนาและคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายเส้นใยสีเขียวที่ทนทานต่อศัตรูฝ้ายที่สำคัญ

236(1.5)การเปรียบเทียบเบื้องต้น : พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสั้นที่ทนทานต่อศัตรูฝ้ายที่สำคัญ

236(1.7)การพัฒนาและคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายเส้นใยยาวสีน้ำตาล

236(1.21)การจำแนกลักษณะประจำพันธุ์ฝ้ายใบขนทนทานต่อแมลงศัตรูที่สำคัญเพื่อจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืช

236(1.26)การเปรียบเทียบเบื้องต้น : พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสีที่ทนทานต่อศัตรูฝ้ายที่สำคัญ

238(8)การปรับปรุงพันธุ์งาเพื่อผลผลิตสูงและปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีชุดปี 2559 : การเปรียบเทียบเบื้องต้น

238(11)การปรับปรุงพันธุ์งาต้านทานโรคเน่าดำและไหม้ดำโดยวิธีผสมกลับกับสายพันธุ์กลาย : การผสมและคัดเลือกพันธุ์

238(13)การปรับปรุงพันธุ์งาต้านทานต่อโรคเน่าดำและโรคไหม้ดำด้วยวิธีผสมกลับกับพันธุ์พื้นเมือง: การผสมและคัดเลือกพันธุ์

239(1.14)ผลของการปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อลดการระบาดของโรคไหม้ดำ (Bacterial wilt;Ralstonia solanacearum) และเน่าดำ (Charcoal rot; Macrophomina phaseolina) ในงา

239(1.16)ศึกษาและพัฒนาเครื่องเกี่ยวงาแบบสะพาย

239(1.17)การทดสอบชุดเทคโนโลยีการผลิตงาหลังนาในเขตชลประทาน

239(1.26)การศึกษาพืชอาศัยรอง (alternate host) ของหนอนห่อใบงาในแหล่งปลูกงาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

242(2.2)การเปรียบเทียบพันธุ์กล้วยหอมทองที่ผ่านการฉายรังสี

242(3.1)การคัดเลือกกล้วยน้ำว้าสายพันธุ์ต้านทานต่อโรคตายพรายที่มีสาเหตุจากเชื้อรา F. oxysporum f. sp. cubense (FOC)

243(5)ศึกษาการใช้ระบบ cold chain สำหรับกล้วยไข่ส่งออก

244(3)ศึกษาการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพในการผลิตกล้วยหอมเชิงการค้า

245(1.2)การทดสอบสายต้นกล้วยน้ำว้าในแปลงเกษตรกร

247(3)การผสมผสานการควบคุมโรคกรีนนิ่งของส้มเปลือกล่อนในสภาพ  แปลงปลูกส้มเดิม

254(1)เปรียบเทียบผลผลิต และคุณภาพของมะละกอที่ปลูกจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และการปลูกจากเมล็ดพันธุ์ดี

255(1.4)การเปรียบเทียบสายต้นมะนาวพันธุ์แป้นทะวาย

256(1.1)การเปรียบเทียบพันธุ์มะขามเปรี้ยวเพื่อการแปรรูปในท้องถิ่น (ระยะที่ 2)

256(1.2)การเปรียบเทียบพันธุ์มะขามเปรี้ยวฝักใหญ่เพื่อการแปรรูปในท้องถิ่น (ระยะที่ 2)

256(2.1)การคัดเลือกสายต้น มะขามเปรี้ยวเนื้อสีแดง (ระยะที่ 2)

260(1.1)การศึกษาและจำแนกลักษณะ พันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของฝรั่งในแปลงรวบรวมพันธุ์ (Ex situ)

260(1.4)ทดสอบพันธุ์ฝรั่งลูกผสมเนื้อสีขาวและเนื้อสีแดงสายพันธุ์ดีเด่นเพื่อการบริโภค

261(1)การคัดเลือกลูกผสมขนุนที่ได้จากการเพาะเมล็ด

263(1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องน้ำหนักผลสตรอเบอร์รี่

264(1.1)วิจัยพัฒนาเครื่องมือยกร่องและปูพลาสติกสำหรับสตรอเบอร์รี่

265(1.2.4)การผสมพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์สตรอว์เบอร์รี

265(2.2.5)ศึกษาการปลูกสตรอเบอรี่ระบบไฮโดรโปนิกส์ภายใต้สภาวะ

267(3.3)ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงและสารสะเดากับเพลี้ยไฟพริก

269(1.1)การคัดเลือกสาหร่ายขนาดเล็กที่มีศักยภาพสูงในการผลิตสารสำคัญและการศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมในการกระตุ้นการสะสมสารสำคัญ

269(1.2)การเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็กในระดับขยายขนาด

271(1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องมือผลิตวัสดุเพาะเห็ดแบบก้อนยาวด้วยเกลียวอัดจากกิ่งไม้

272(2)การคัดเลือกสายพันธุ์เห็ดฟางที่เหมาะสมต่อการเพาะในสภาพอุณหภูมิต่ำ

274(2.1)การคัดเลือก และจำแนกชนิดของเอ็นไซม์จากเชื้อราไตรโคเดอร์มาที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคพืช

276(1)การศึกษาแหล่งคาร์บอนที่มีประสิทธิภาพในการผลิตเอนไซม์อะไมเลสและการสกัดบริสุทธิ์

277(2.2)การสร้างข้อมูลดีเอ็นเอบาร์โค้ดและความหลากหลายทางพันธุกรรมของถั่วเหลือง

277(3.1)ความหลาก หลายและดีเอ็นเอบาร์โค้ดของพืชวงศ์ศิลา (Aquifoliaceae)

280(6)การรวบรวมและประเมินลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพืชสมุนไพร “พิกัดเทียน” ที่ใช้ในตำรับยาไทย เพื่อการอนุรักษ์ในธนาคารเชื้อพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร

280(7)การรวบรวมและประเมินลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชื้อพันธุกรรมแตงเทศนประเทศเพื่ออนุรักษ์ในธนาคารเชื้อพันธุ์พืช

284(1.4)ศึกษาการหยุดให้ปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกผักเพื่อลดปริมาณไนเตรทในโรงเรือนหลังคาโปร่งแสงสลับกับทึบแสง

284(2.1)การทดสอบโรงเรือนต้นแบบการปลูกผักเพื่อลดปริมาณไนเตรท

285(1.5)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้าง เมทอกซีฟีโนไซด์

285(1.10)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างของสารกำจัดแมลง กลุ่มเบนโซอิลยูเรีย (benzoylurea) ในหน่อไม้ฝรั่ง ด้วยเทคนิค LC-MS/MS

285(1.12)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างของchiral pesticides 6 ชนิดในมะม่วง โดยใช้คอลัมน์ที่มีความเฉพาะเจาะจงกับเทคนิคไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโทกราฟีแทนเดมแมสสเปกโทรกราฟี

285(1.15)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างของสาร กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต (Organophosphate) ออร์กาโนคลอรีน (Organochlorine) ไพรีทรอยด์ (Pyrethroid) คาร์บาเมต (Carbamate) และไตรอะซีน (Triazine)ในเนื้อปลา

285(1.20)การคัดเลือก สารสกัดจากพืชตัวแทน (Representative Matrix) เพื่อการหาปริมาณสารพิษตกค้างในการตรวจวิเคราะห์แบบรวมในผักและผลไม้ ด้วยเครื่องแก๊สโครมาโทกราฟี

285(3.6)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบสารพิษตกค้างในพืชผัก High water and chlorophyll

285(3.10)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต(Organophosphate) และคาร์บาเมต(Carbamate) ในมะเขือ ของห้องปฏิบัติการ สวพ.5

285(3.11)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารคาร์เบนดาซิมในพริกและลำไยด้วยLCMSMS ของห้องปฏิบัติการ สวพ.1

286(2.21)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคราแป้ง (Powdery mildew) ในแตงเทศที่เกิดจากเชื้อสาเหตุ Oidium sp

286(2.22)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคราสนิมของกุ่ยช่าย สาเหตุจากเชื้อ Puccinia allii Rud

286(2.23)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคสแคปขององุ่น สาเหตุจากเชื้อรา Sahaceloma ampeklinum De Bary

286(2.25)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคราสนิมของลีลาวดี

286(2.26) การศึกษาประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอกในถั่วฝักยาว

286(2.24)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟ ในมะลิ

286(2.27)ทดสอบประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชไกลโฟเซตสูตรต่างๆต่อการควบคุมวัชพืช

286(2.28)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟพริกในเงาะ

286(2.38)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ Spodoptera spp. ในกุหลาบ

287(2.1)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของอะซอกซีสโตรบิน (azoxystrobin) ในพริกเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

287(2.2)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของฟิโพรนิล (fipronil) ในพริก เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

287(2.3)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของอิมิดาโคลพริด (imidacloprid) ในมะเขือ เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

287(2.4)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของเบต้าไซฟลูธรินในมะเขือเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารมีพิษตกค้าง (MRLs) ครั้งที่ 1 – 6

287(2.5)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของเฟนโพรพาทริน (fenpropathrin) ในมะเขือ เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 1-6

287(3.1)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของ อะชีทามิมิพริด (acetamiprid) ในคะน้า เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

287(3.3)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของ อีมาเมกตินเบนโซเอต(emamectin benzoate) ในคะน้า เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

287(3.4)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของ อะซอกชีสโตรบิน (azoxystrobin) ในคะน้าเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

287(4.1)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของเบตา-ไซฟลูทริน (beta-cyfluthrin) ในถั่วฝักยาวเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

287(4.2)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างเดลทาเมทริน (deltamethrin) ในถั่วฝักยาวเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

288(1.1) การพัฒนาระบบตรวจประเมินความสามารถและตรวจติดตามหน่วยรับรอง

288(1.2)การพัฒนาระบบตรวจติดตามโรงงานผลิตสินค้าพืชที่ได้รับการขึ้นทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตร

289(2.2)การประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารกำจัดวัชพืชอะมีทรีน (Ametryn) ต่อผู้ใช้ ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม

290(1.4)(แก้ไข)วิจัยพัฒนาการตรวจวิเคราะห์ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม Mon810    และ NK603 ด้วยเทคนิคMultiplex Real-time PCR

291(2.11)การศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของผลเชอรี่สดนำเข้าจากสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน

291(2.15)การศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศนำเข้าจากรัฐอิสราเอล

291(3.4)การประเมินมาตรการสุขอนามัยพืชในการนำเข้าผลมะเขือเทศสดจากมาเลเซีย

291(4.2)ศึกษามาตรการสุขอนามัยพืชในการส่งออกผลมะละกอ

291(4.3)ศึกษามาตรการสุขอนามัยพืชในการส่งออกต้นและดอกกล้วยไม้

292(1.1)ชนิดศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศนำเข้าจากอินเดีย จีน สหรัฐอเมริกา และ เนเธอร์แลนด์

292(1.4)ชนิดศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์พริกนำเข้าจากอินเดีย จีน เนเธอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา

292(1.6)ชนิดศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับหัวพันธุ์มันฝรั่งนำเข้าจากสกอตแลนด์ ออสเตรเลียเนเ

292(1.8)ชนิดศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ผักกาดหัวนำเข้าจากนิวซีแลนด์ และญี่ปุ่น

292(1.9)ชนิดศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดนำเข้าจาก อินเดีย และ สหรัฐอเมริกา

292(2.3)ชนิดของศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับผลองุ่นสดนำเข้าจากจีน

294(9)การศึกษาสถานภาพของไร Aceria guerreronis Keifer ในประเทศไทย

294(10)การศึกษาสถานภาพของแมลงวันทอง Bactrocera carambolae (Drew & Hancock) ในประเทศไทย

295(1.1.1)อนุกรมวิธานเพลี้ยหอยเกล็ดวงศ์ย่อย Aspidiotinae (Hemiptera Coccoidea Diaspididae) ในประเทศไทย

295(1.1.3)อนุกรมวิธานเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วง (Hemiptera Cicadellidae) ในประเทศไทย

295(1.1.4)อนุกรมวิธานผีเสื้อหนอนกอสกุล Chilo (Lepidoptera Crambidae Crambinae) ในประเทศไทย

295(1.1.5)สำรวจความหลากชนิดหอยทากบกศัตรูพืชในระบบนิเวศเกษตรและสิ่งแวดล้อม

295(1.1.8)ความหลากชนิดและความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของหนูหริ่งสกุล Mus (Rodentia Muridae) ที่พบในประเทศไทย

295(1.1.9)อนุกรมวิธานของแตนเบียนสกุล Encarsia (Hymenoptera Aphelinidae)

295(1.1.10)อนุกรมวิธานของแมลงช้างปีกใส วงศ์ Chrysopidae ในประเทศไทย.

295(1.1.11)อนุกรมวิธานมวนตัวห้ำสกุล Orius (Hemiptera Anthocoridae) ในประเทศไทย

295(1.2.1)ศึกษาราสกุล Phytophthora ในเผือก

295(1.2.2)การจำแนกชนิดของราสกุล Curvularia และ Bipolaris

295(1.2.6)จัดจำแนกชนิดของไส้เดือนฝอยสกุล Radopholus ทางสัณฐานวิทยาในไม้ประดับส่งออก

295(2.2.1)ศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาของรา Phyllosticta citriasiana

295(2.2.2)การศึกษาพืชอาศัย และเขตการแพร่กระจายของเชื้อรา Fusarium oxysporum สาเหตุโรคเหี่ยวของพืชในประเทศไทย

295(2.2.3) ชีววิทยาของเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรคใบจุดของกล้วยไม้สกุลม็อคคาร่า

295(2.2.4)การศึกษาสาเหตุและการถ่ายทอดโรคใบหงิกของส้มโอ

295(2.2.5)ศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาของรา Curvularia eragrostidis และรา C. Oryzae

295(2.3.4)ชีววิทยา และนิเวศวิทยาของกระดุมใบใหญ่ (Borreria latifolia (Aubl), Schum.)

295(3.3)การสำรวจโรคและจัดทำดีเอ็นเอบาร์โค้ดของราCercosporoid fungi สาเหตุโรคพืช

295(3.4)การสำรวจโรคและจัดทำรหัสดีเอ็นเอบาร์โค้ดของราสนิมสาเหตุโรคพืช

295(3.5)การจัดทำดีเอ็นเอบาร์โค้ดของรา Alternaria สาเหตุโรคพืช

295(3.7)การใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ดเพื่อจำแนกชนิดแมงมุมแม่หม้ายสกุล Latrodectus ในประเทศไทย

296(4)ชีววิทยาและการแพร่กระจายของหญ้ายอดหนอน (Spigelia anthelmia L.)

296(5)ชีววิทยาและการแพร่กระจายของพืชต่างถิ่น 3 ชนิด

297(3)ชนิดของเพลี้ยแป้ง (Hemiptera Pseudococcidae) ที่เป็นพาหะของโรคเหี่ยวสับปะรด (Pineapple Mealybug Wilt)

298(1.1)การตรวจแบคทีเรีย Clavibacter michiganensis subsp.

298(1.2)การตรวจแบคทีเรีย Clavibacter michiganensis subsp. nebraskensis-แปลง

298(2.1)การพัฒนาชุดตรวจสอบ Immuno Strip

298(2.2)การผลิตแอติบอดีของเชื้อไวรัส Watermelon silver mottle virus (WSMoV) ในระบบเซลล์แบคทีเรีย

298(2.3)การตรวจสอบรา Phyllosticta citriasiana Wulandari,Crous and Gruyter

298(2.5)การผลิตแอนติซีรัมของเชื้อไวรัส Leek yellow stripe virus (LYSV)

298(2.7)การพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยเชื้อ Pepper chat fruit viroid (PCFVd) กับเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ

298(2.8)การผลิตโพลีโคลนอลแอนติ บอดีเพื่อตรวจ สอบโรคใบด่างลายของข้าวโพดที่เกิดจาก

299(1.1)วิจัยสถานภาพพืชอนุรักษ์สกุลปรง (Cycad)

299(1.2)วิจัยสถานภาพพืชอนุรักษ์สกุลเฟินต้น (Cyathea Sm.)

299(1.4)วิจัยสถานภาพกล้วยไม้สกุลรองเท้านารี หมู่ Barbata (Paphiopeditum Pfitzer: Section Barbata)

299(1.10)วิจัยเพื่อวิเคราะห์สถานภาพของกล้วยไม้รองเท้านารีที่ค้นพบใหม่

299(2.1)ศึกษาวิจัยแนวทางการขึ้นทะเบียนแปลงปลูกพืชที่ให้เนื้อไม้ : พะยูง ตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518

299(3.1)ศึกษาวงจรชีวิตการเจริญเติบโตของพลับพลึงธารในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยง

300(5)การศึกษาเพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์อ้อยักษ์

300(6)การศึกษาเพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์หญ้ารูซี่

301(1.1)ศึกษาวิจัยความหลากหลายและการตรวจวิเคราะห์จำแนกชนิดพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปสกุลกลิ้งกลางดง  Stephania Lour. (Menispermaceae)

301(1.2)ศึกษาวิจัยความหลากหลายและการตรวจวิเคราะห์จำแนกชนิดพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปที่มีศักยภาพการใช้ประโยชน์ด้านพืชสมุนไพร เพื่อประโยชน์ด้านการคุ้มครองพันธุ์พืชตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

301(1.3)ศึกษาวิจัยความหลากหลายและการตรวจวิเคราะห์จำแนกชนิดพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปสกุลขาไก่ดำ Justicia L. (Acanthaceae)

301(1.4)ศึกษาวิจัยความหลากหลายและการตรวจวิเคราะห์จำแนกชนิดพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป สกุลปอบิด Helicteres L. (Sterculiaceae)

301(2.1)ศึกษาวิจัยความหลากหลายและการตรวจวิเคราะห์จำแนกชนิดพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปวงศ์บุกบอน Araceae

301(2.2)ศึกษาวิจัยความหลากหลายและการตรวจวิเคราะห์จำแนกชนิดพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป สกุลมะแขว่น Zanthozylum (Rutaceae)

301(2.3)ศึกษาวิจัยความหลากหลายและการตรวจวิเคราะห์จำแนกชนิดพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปวงศ์บัวบก (Apiaceae)

303(1.1)ศักยภาพการผลิตยางพาราในสวนเกษตรกรภาคใต้

303(1.2)ศักยภาพการผลิตยางพาราในสวนเกษตรกรภาคตะวันออก

305(1)ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพถ่าย และปริมาณธาตุอาหารของใบปาล์มน้ำมันที่ได้จากห้องปฏิบัติการ สำหรับทำดัชนีธาตุอาหารของใบปาล์มน้ำมัน

รายงานผลงานเรื่องเต็มการทดลองที่สิ้นสุด 2562

ศึกษาชนิดเชื้อราบนเมล็ดปาล์มน้ำมันและการควบคุมเชื้อราสาเหตุโรค