4(1.17)การคัดเลือกโคลนอ้อยชุด 2555 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี
5(1.2)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์อ้อยชุดปี 2553 เขตน้ำฝน อ้อยปลูก ตอ1 ตอ2เก็บเกี่ยว
5(1.4)การคัดเลือกครั้งที่ 2 โคลนอ้อยชุดปี 2556 เขตน้ำฝน (เก็บเกี่ยว)
5(1.13)การเปรียบเทียบมาตรฐานเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพพันธุ์อ้อยชุดปี 2553 เขตน้ำฝน
5(2.3)ศึกษาจำแนกเชื้อสาเหตุโรคเน่าของปัญจขันธ์และการป้องกันกำจัดโดยชีววิธี
9(1)ออกแบบ และพัฒนาไถระเบิดดินดานชนิดสั่นที่ขา 2 ขาแบบมีชุดควบคุมความถี่ในการสั่น
9(1.12)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสั้นสีน้ำตาลที่ทนทานต่อศัตรูฝ้ายที่สำคัญ (เก็บเกี่ยว)
11(1)การพัฒนาเครื่องบำรุงอ้อยตอแบบอัตโนมัติ
12(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินแบบแยกถังปุ๋ยสำหรับอ้อย
13(1)การศึกษากลไกควบคุมการทำงานของยีนสังเคราะห์เอนไซม์ PPO
18(1.6) การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผล
18(1.7)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง
18(1.8) การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง การเปรียบเทียบมาตรฐาน (ลูกผสมปี 2557)
18(1.11)การประเมินความสามารถในการสะสมน้ำหนักได้เร็วของสายพันธุ์มันสำปะหลัง (ลูกผสมปี 2555)
18(2.1)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อบริโภค การผสมพันธุ์ (ลูกผสมชุดปี 2560 )
18(2.2)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อบริโภค การคัดเลือกปีที่ 1 (ลูกผสมปี 2560)
21(2.3)การประเมินความหนืดในมันสำปะหลังด้วย NIR
21(2.4)การประเมินอมิโลสในมันสำปะหลังด้วย NIR
22(1.2)ออกแบบและพัฒนาเครื่องจักรและอุปกรณ์ในระบบทำความสะอาดมันเส้น
35(1.1)การทดสอบความเข้มข้นของ SO2 ที่เหมาะสมในการรมลำไยร่วมกับการใช้แผ่นระเหยโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์
35(2.1)การใช้โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ (SMS) ผสมกรดเกลือ (HCl) ทดแทนการรมควันด้วย SO2
35(3.1)การทดสอบประสิทธิภาพเครื่องตรวจ SO2 แบบเร็วทดแทนการไทเทรต
36(1.1)การศึกษาระยะระหว่างแถวและจำนวนประชากรที่เหมาะสมสำหรับปรับใช้กับรถแทรกเตอร์
36(1.2)พันธุ์และระยะปลูกที่เหมาะสมสำหรับผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเขตจังหวัดปทุมธานี
36(1.11)ศึกษาอายุการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 84-1
36(1.14)ศึกษาพัฒนาการการสุกแก่ของเมล็ดงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 และงาดำพันธุ์อุบลราชธานี 3
36(2.1)รูปแบบโรงตากลดความชื้นเมล็ดพันธุ์พลังงานแสงอาทิตย์ที่เหมาะสมสำหรับเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง
36(2.5)การใช้คลื่นความถี่วิทยุในการควบคุมกำจัดด้วงถั่วเหลือง
36(2.6)การศึกษาอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์นครสวรรค์ 3
37(1.1)การพัฒนาวิธีการประเมินคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองและถั่วเขียวโดยการวัดค่าการนำไฟฟ้า
49(1.3)การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุยาว
49(2.3)การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุสั้น
52(1.1)อายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
52(1.2)ความชื้นเมล็ดที่เหมาะสมในการเก็บรักษาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
52(1.3)วิธีการลดความชื้นเมล็ดที่เหมาะสมในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
52(1.4)วิธีและระยะเวลาการเก็บรักษาเมล็ดที่เหมาะสมในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
53(1.1)ออกแบบและพัฒนาเครื่องบดและแยกซังข้าวโพดจากเปลือกและซังเพื่อเตรียมวัตถุดิบสำหรับผลิตเอทานอล
54(3.2)การเปรียบเทียบมาตรฐานข้าวโพดฝักอ่อนลูกผสมเดี่ยว ชุดปี 2551
55(3.4)ผลของการใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทใช้ก่อนวัชพืชงอกในข้าวโพดหวาน
55(3.5)ผลของการใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทใช้หลังวัชพืชงอกในข้าวโพดหวาน
63(2.1)(ฉบับแก้ไข)ศึกษาชนิดต้นตอที่เหมาะสมกับมะนาวพันธุ์การค้า
63(2.2)(ฉบับแก้ไข)วิธีการตัดแต่งเพื่อควบคุมขนาดและทรงพุ่มต้นมะนาวที่เจริญบนต้นตอ
65(4)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตส้มโอพันธุ์ทองดีอย่างมีคุณภาพในแปลงเกษตรกร
70(1.1)การเปรียบเทียบสายต้นกล้วยน้ำว้าในศูนย์วิจัยฯ ที่เป็นแหล่งปลูก
72(2)ผลของการใช้สารชะลอการเจริญเติบโตบางชนิดต่อการหักล้มของกล้วยไข่
73(1)การทดสอบพันธุ์มะละกอพันธุ์ปลักไม้ลาย
79(3.1)ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงและเชื้อไวรัส NPV กับหนอนกระทู้หอม
81(1)การคัดเลือกสายต้นอาโวกาโดที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ต่างๆ
82(1.1)(ฉบับแก้ไข)อนุรักษ์พันธุ์และศึกษาเชื้อพันธุกรรมมะเดื่อฝรั่งจากยุโรป
82(2.1)การทดสอบพันธุ์เกาลัดจีน
82(3.1)การเปรียบเทียบพันธุ์ลูกผสมพี้ชและเนคทารีนสายพันธุ์คัด
84(1)การเปรียบเทียบมะพร้าวลูกผสมสามทาง
90(1.1)การสร้างพันธุ์ลูกผสมกาแฟโรบัสตา
91(1.4)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอาราบิก้าสายพันธุ์ต้านทานโรคราสนิมลูกผสมชั่วที่ 5
91(1.7) การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสม Sarch
96(2.2.1)ศึกษาการขยายพันธุ์ชาจีนด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
96(3.1)การศึกษาวิธีการแปรรูปชาขาว
96(3.2)การศึกษาวิธีการแปรรูปชาเขียวคั่ว
96(3.3)การศึกษาวิธีการแปรรูปชาเทียะกวนอิม
101(2.3)การศึกษาดัชนีการเก็บเกี่ยวชาน้ำมัน
105(2)การเปรียบเทียบพันธุ์มันเทศอายุเก็บเกี่ยวสั้น
106(1.2)การเปรียบเทียบพันธุ์มันเทศลูกผสมเนื้อสีม่วงที่มีสารแอนโทไซยานินสูง
106(1.4)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบพันธุ์มันเทศเพื่อการอุตสาหกรรมแป้งในแปลงเกษตรกร
110(1.2.1)การศึกษาระบบผลิตต้นแม่พันธุ์ในระบบไฮโดรโพนิค
110(1.2.2)การเพิ่มปริมาณหัวพันธุ์มันฝรั่งขนาดเล็ก (microtubers) โดยระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราว
110(2.1.1)การผลิตมันฝรั่งต้านทานโรคใบไหม้นอกฤดูในเขตภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง
110(3.1.2)การทดสอบประสิทธิภาพสารในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟในมันฝรั่ง
113(1)การเปรียบเทียบพันธุ์พริกต้านทานแอนแทรค
113(2)การเปรียบเทียบพันธุ์พริกจินดาสายพันธุ์
117(2.1) แก้ไข ผลการตัดแต่งทรงพุ่มที่มีต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของสตอ
121(2.2.1)การป้องกันกำจัดหนอนเจาะสมอฝ้าย Helicoverpa armigera
128(1.1)การพัฒนาโรงเรือนต้นแบบและวัสดุปลูกที่เหมาะสม
129(3.2)ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดบั่วกล้วยไม้ในกล้วยไม้สกุลหวาย
129(3.3)เทคนิคการพ่นสารเครื่องพ่นหมอกในการป้องกันกำจัดบั่วกล้วยไม้
132(2.1)การทดสอบพันธุ์กล้วยไม้สกุลสแปโทกลอททิสลูกผสมชุดที่ 3
135(1.1)การใช้วิธีการจัดการดินร่วมกับการใช้แบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคเหี่ยวของปทุมมา
135(4.1)การรวบรวม ศึกษา จำแนก และประเมินคุณค่าเชื้อพันธุกรรมพืชกลุ่มปทุมมาและกระเจียว
135(4.3)การทดสอบการผลิตและการตลาดปทุมมาลูกผสมชุดที่ 3 (2)
136(1) ผลกระทบของเพลี้ยไฟในพืชเศรษฐกิจต่อการผลิตเบญจมาศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
146(2.5)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองเพื่อผลผลิตสูง (ชุดปี 55)- การคัดเลือกพันธุ์
146(3.2)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ (ชุดปี 55)- การคัดเลือกพันธุ์
146(4.1)การศึกษาประเมินการเข้าทำลายแมลงศัตรูถั่วเหลืองต่อถั่วเหลืองสายพันธุ์ดีเด่นชุดที่ 1
146(4.2)การประเมินความต้านทานของพันธุ์ถั่วเหลืองดีเด่นต่อเชื้อสาเหตุโรคราสนิม
147(1.1)อัตราปุ๋ยโพแทสเซียมที่มีผลต่อปริมาณสารไอโซฟลาโวนในถั่วเหลือง
147(1.2)(ฉบับแก้ไข)การใช้เครื่องจักรกลในการผลิตถั่วเหลืองเพื่อลดต้นทุนการผลิต
147(1.10)ผลของจำนวนแถวและขนาดแปลงกว้างต่อผลผลิตฝักสดมาตรฐานของถั่วเหลืองฝักสด
147(1.11)อัตราที่เหมาะสมของปุ๋ยมูลไก่ที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพของถั่วเหลืองฝักสด
147(2.2)ศึกษาการเข้าทำลายของแมลงศัตรูถั่วเหลืองที่ปลูกในช่วงปลูกแตกต่างกัน
147(3.4)ผลของคลื่นความถี่วิทยุต่อคุณภาพถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง
147(3.5)วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากโยเกิร์ตถั่วเหลือง โลชั่นบำรุงผิวโยเกิร์ตถั่วเหลือง
147(3.6)วิจัยและพัฒนาการผลิตสบู่เหลวถั่วเหลือง
148(1)ทดสอบเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตถั่วเหลือง จังหวัดลำปาง
150(1.1)(ฉบับแก้ไข)การใช้ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมร่วมกับปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะหืดินเพื่อเพิ่มผลผลิต
152(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องแยกเปลือกจากถั่วเขียวซีกแช่น้ำ
154(1.2)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดปานกลางเพื่อผลผลิตสูงชุดที่ 1
154(1.3)การเปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดปานกลางเพื่อผลผลิตสูง ชุดที่ 2
154(2.1)ศึกษาค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของถั่วลิสงสายพันธุ์ดีเด่น ชุดที่ 1
154(2.5)ปฏิกิริยาของสายพันธุ์ก้าวหน้าถั่วลิสงต่อโรคใบจุดและราสนิม
154(2.6)ปฏิกิริยาของสายพันธุ์ก้าวหน้าถั่วลิสงต่อโรคโคนเน่า
154(3.1)การประเมินศักยภาพของพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มในจังหวัดเชียงใหม่
154(3.2)ผลของอัตรายิปซั่มต่อผลผลิตถั่วลิสงฝักต้มในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
154(3.4)การประเมินศักยภาพของพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มในจังหวัดอุบลราชธานี
154(3.6)การประเมินศักยภาพของพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มในจังหวัดสงขลา
156(1.1)ระยะวิกฤตของวัชพืชต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของงา
156(1.2)(ฉบับ2)การใช้สารชะลอการเจริญเติบโต (พาโคลบิวทราโซล) ในการผลิตงา
156(1.3)ผลของวิธีการเตรียมดินปลูกต่อผลผลิตของการปลูกงาโดยใช้เครื่องปลูกแบบพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์
156(1.4)(ฉบับ2)ศึกษาวิธีการปลูกและอัตราปุ๋ยต่อการปลูกงาในสภาพนาชลประทาน
156(1.5)ผลของวันปลูกต่อการเข้าทำลายของแมลงวันศัตรูงา
156(1.9)ศึกษาอัตราการใช้สารคลุกเมล็ดเพื่อควบคุมโรคไหม้ดำ
157(2)การปรับปรุงพันธุ์งาดำเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบพันธุ์ในไร่เกษตรกร พันธุ์งาดำเพื่อผลผลิตสูง
158(2.2)ระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตทานตะวันเชียงใหม่ 1 ในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์
159(1.12)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสั้นสีน้ำตาลที่ทนทานต่อศัตรูฝ้ายที่สำคัญ
159(1.16)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ฝ้ายเส้นใยยาวพิเศษ (เก็บเกี่ยว)
159(1.20)การคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายใบขนทนทานต่อแมลงศัตรูที่สำคัญแบบ Modal Bulk (เก็บเกี่ยว)
160(1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องหีบฝ้ายสำหรับการคัดแยกเมล็ดและทำความสะอาดปุยฝ้าย
161(1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องสางฝ้ายสำหรับการตีฟูปุยฝ้าย
162(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องปั่นฝ้ายสำหรับการทำเส้นใยฝ้าย
163(1.1)การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างหวานให้ได้ ผลผลิตและคุณภาพสูง การเปรียบเทียบมาตรฐาน
163(1.5)ช่วงเวลาปลูกที่เหมาะสมต่อคุณภาพข้าวฟ่างหวานในฤดูแล้ง
165(1.2)การสำรวจและรวบรวมพันธุ์ปัญจขันธ์พันธุ์พื้นเมืองหรือพันธุ์ป่าในสภาพธรรมชาติ
165(2.1)ศึกษาความต้องการธาตุอาหารและการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพปัญจขันธ์
165(2.3)ศึกษาจำแนกเชื้อสาเหตุโรคเน่าของปัญจขันธ์และการป้องกันกำจัดโดยชีววิธี
165(3.1)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลผลิตปัญจขันธ์ที่ปลูกแบบใช้ปุ๋ยเคมี
167(1.1)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และลักษณะทางการเกษตรของหญ้าหวาน
167(1.2)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และลักษณะทางการเกษตรของโกฐเชียง
177(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องดองผักแบบความดันอัดอากาศร่วมกับน้ำดองที่ผสมหัวเชื้อน้ำดอง
180(2.1)ทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดพืช สะเดา ว่านน้ำ และหางไหล
180(3.3)การใช้กากเมล็ดชาน้ำมันCamelia sp. ควบคุมหอยและทากศัตรูพืชในแปลงผักอินทรีย์
181(2.1)การคัดเลือกพันธุ์ถั่วฝักยาวพื้นบ้านที่เหมาะสมในระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์
181(2.2)การคัดเลือกพันธุ์บวบพื้นบ้านที่เหมาะสมในระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์
184(1.1)การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดศัตรูผักชีฝรั่งอินทรีย์แบบผสมผสานจังหวัดอำนาจเจริญ
184(3.1)การทดสอบระบบการปลูกพืชอินทรีย์ที่เหมาะสมในพื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ
187(1.1)การพัฒนาต้นแบบการจัดการดินปุ๋ยเพื่อการผลิตพืชผักอินทรีย์แบบเกษตรกรมีส่วนร่วม
187(2.1)การพัฒนาต้นแบบการจัดการระบบปลูกพืชผักอินทรีย์แบบเกษตรกรมีส่วนร่วม
188(1.1)(ฉบับแก้ไข)การจัดการดินปุ๋ยเพื่อการผลิตหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ
189(1.1)(ฉบับแก้ไข)การจัดการดินและปุ๋ยที่เหมาะสมในระบบการผลิตพืชผักอินทรีย์จังหวัดนครราชสีมา
193(1)(ฉบับแก้ไข)การวิเคราะห์เศรษฐสังคมระบบการผลิตมังคุดอินทรีย์ในพื้นที่ภาคตะวันออก
193(2)การวิเคราะห์เศรษฐสังคมระบบการผลิตเงาะอินทรีย์ในพื้นที่ภาคตะวันออก
197(3.1)การวิเคราะห์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของมันสำปะหลังที่มีการจัดการน้ำแตกต่างกัน
203(3.1)การพัฒนาเครื่องบีบผลมะขามป้อม
203(3.2)การพัฒนาเครื่องอบแห้งผลไม้สำหรับอบแห้งมะขามป้อม
204(1.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตห้อมในพื้นที่จังหวัดแพร่
208(1)การทดสอบข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 ในจังหวัดน่าน และจังหวัดเชียงใหม่
208(2)ทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จังหวัดน่าน
209(1)(แก้ไข2)ทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคและแมลงหอมแดงให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างในจังหวัดลำพูน
209(2)การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูกะหล่ำปลีที่ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
210(2.1)ทดสอบการผลิตถั่วเขียวในระบบการปลูกพืช (ข้าว-ถั่วเหลือง-ถั่วเขียว) จังหวัดเชียงใหม่
213(1.1)การศึกษาประสิทธิภาพการป้องกันกำจัดด้วงเต่ากินใบกล้วยทำลายใบตองกล้วยตานี
213(1.5)การยืดอายุการเก็บรักษาใบตองกล้วยตานี
215(2.1)ศึกษาต้นตอที่เหมาะสมในการผลิตมะกรูดระยะที่ 2
221(1.2)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตคะน้าปลอดภัยจังหวัดหนองบัวลำภู
221(1.4)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกะหล่ำปลีปลอดภัยพื้นที่จังหวัดนครพนม
221(1.5)การทดสอบเทคโนโลยีเพื่อควบคุมแมลงวันผลไม้แบบผสมผสานในบวบหอมจังหวัดอุดรธานี
221(1.6)การศึกษาเทคโนโลยีการผลิตผักกาดหอมนอกฤดูที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่จังหวัดขอนแก่น
222(1.5)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารและการจัดการศัตรูพืชผักอินทรีย์จังหวัดเลย
223(1.2)การป้องกันกำจัดหนอนเจาะขั้วผลลิ้นจี่พันธุ์นครพนม 1
224(1)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขมิ้นชันในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น
224(2)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขมิ้นชันในพื้นที่สกลนคร
224(4)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไพรในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น
229(3)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพริกคุณภาพสู่กลุ่มเป้าหมายจังหวัดร้อยเอ็ด
230(1.2)การสร้างแปลงต้นแบบเทคโนโลยีแบบผสมผสานเพื่อควบคุมแมลงวันผลไม้ในน้อยหน่าพื้นเมือง
230(2.1)ทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องคัดขนาดผลน้อยหน่า
234(2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังในนาจังหวัดมหาสารคาม
234(2.5)การทดสอบพันธุ์มันสำปะหลังอายุเก็บเกี่ยว 6 เดือน ในสภาพนาจังหวัดอุบลราชธานี
234(2.6)การทดสอบเทคโนโลยีพันธุ์มันสำปะหลังสายพันธุ์ก้าวหน้าพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ
241(4)การทดสอบเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารที่เหมาะสมเพื่อการผลิตอ้อยในพื้นที่ดินเหนียว-ร่วนเหนียว
241(7)ทดสอบการเตรียมดินปลูกอ้อยแบบ stripe tillage ในเขตดินร่วน ปนทราย
241(8)ทดสอบการเตรียมดินปลูกอ้อยแบบ stripe tillage ในเขตดินร่วนเหนียว
242(1)ทดสอบปุ๋ยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ชลประทานเรื่องสิ้นสุด60
242(2)ทดสอบพันธุ์และปุ๋ยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในเขตแห้งแล้งเรื่องสิ้นสุด60
242(3)การทดสอบพันธุ์และการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดลี้ยงสัตว์ในพื้นที่แห้งแล้งจังหวัดชัยนาท
242(4)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่แห้งแล้งจังหวัดนครสวรรค์
242(5)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนา
243(1.2)ทดสอบพันธุ์และปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมกับการผลิตมันสำปะหลังในดินทราย จังหวัดนครสวรรค์
243(1.3)ทดสอบพันธุ์และปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมกับการผลิตมันสำปะหลังในดินร่วนปนทราย จังหวัดนครสวรรค์
243(1.4)การทดสอบพันธุ์และปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมกับการผลิตมันสำปะหลัง จังหวัดอุทัยธานี
245(1)การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพในการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดลพบุรีและสระบุรี
245(2)การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพในการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่จังหวัดนครปฐม
245(3)ทดสอบปุ๋ยข้าวโพดฝักสดเรื่องสิ้นสุด60
245(4)ทดสอบการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวจังหวัดอ่างทอง
245(5)ทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในการผลิตข้าวโพดฝักอ่อน จังหวัดนครปฐม
247(3)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตกระเจี๊ยบเขียวให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
247(5)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตกวางตุ้ง จังหวัดราชบุรี
247(6)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตคะน้าฮ่องกง จังหวัดชัยนาท
247(7)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตกวางตุ้งฮ่องเต้ จังหวัดชัยนาท
247(8)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตผักกาดหอมจังหวัดปทุมธานี
247(9)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตผักกาดขาว จังหวัดอุทัยธานี
247(13)ทดสอบอัตราส่วนของวัสดุปลูกทดแทนที่เหมาะสมในการผลิตกะเพรา
247(14)ทดสอบอัตราส่วนของวัสดุปลูกทดแทนที่เหมาะสมในการผลิตมะเขือเทศพันธุ์ราชินี
257(1)(ฉบับแก้ไข)สำรวจระบบการจัดการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อการส่งออกของเกษตรกร
257(2)(ฉบับแก้ไข)ทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งในลำไยเพื่อการส่งออก
266(4.1)ศึกษาระบบการปลูกปาล์มน้้ามันอย่างยั่งยืนในพื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วมซ้้าซาก
267(2.3.4)(ฉบับแก้ไข)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร สายพันธุ์ถั่วหรั่งที่ได้จากการผสมข้ามพันธุ์ชุดที่1
267(2.5.1)(ฉบับแก้ไข)การเปรียบเทียบเบื้องต้นสายพันธุ์ถั่วหรั่งชุดปี 51-52
268(1.2)การตอบสนองต่อระดับปุ๋ยไนโตเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในมันขี้หนู
268(1.3)(ฉบับแก้ไข)การปลูกมันขี้หนูระยะชิดร่วมกับการใช้สารชะลอการเจริญเติบโต
268(1.4)อิทธิพลของวันปลูกต่อการเจริญเติบโตทางลำต้น การสร้างหัวและการให้ผลผลิตของมันขี้หนู
269(1.1)ศึกษาระดับการใช้ซิลิกอนที่เหมาะสมสำหรับการเพิ่มผลผลิต ปาล์มน้ำมัน
269(1.2)ศึกษาการใช้จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตสำหรับการผลิตปาล์มน้ำมัน
270(4.1)การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานในจังหวัดยะลา
270(4.2)การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์สงขลา 84-1 ในพื้นที่จังหวัดสตูล
270(4.3)การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์สงขลา 84-1 ในพื้นที่จังหวัดตรัง
270(4.4)การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดหวานพันธุ์สงขลา 84-1ในพื้นที่จังหวัดยะลา
271(3.1)การนำวัสดุเศษเหลือจากการผลิตแป้งสาคูมาใช้เป็นวัสดุเพาะเห็ดแครง
274(1.1)การสำรวจและรวบรวมพันธุ์กกในแหล่งปลูกภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
274(2.1)ศึกษาส้ารวจแหล่งกระจูด การกระจายพันธุ์ ชนิดของกระจูดและคุณสมบัติของกระจูดในประเทศไทย
274(2.3)ระยะปลูกที่เหมาะสมของกระจูด
274(4.1)การศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ซ้ำสารสกัดเส้นใยพืชในการสกัดเส้นใยดาหลา
274(5.1)สำรวจ รวบรวม และศึกษาต้นคล้าในประเทศไทย
276(2.3)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของละอองเกสรปาล์มน้ำมันนำเข้าจากสาธารณรัฐเบนิน
276(2.7)การศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของผลองุ่นสดนำเข้าจากสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์
277(1.5)ชนิดศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ผักกาดหอมนำเข้าจากจีน และสหรัฐอเมริกา
278(1.4)วิจัยและพัฒนาวิธีกำจัดแมลงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดแมลงวันผลไม้ในผลแก้วมังกรเพื่อการส่งออก
280(1.5)ศักยภาพของราสาเหตุโรคแมลงบางชนิดในการควบคุมเพลี้ยอ่อนดำ Aphis craccivora (Koch)
280(1.6)สำรวจและศึกษาศักยภาพหอยน้ำสกุล Clea ในการเป็นตัวห้ำหอยน้ำศัตรูพืช
280(1.7)การสำรวจและคัดเลือกเชื้อราสกุล Aspergillus ที่มีประสิทธิภาพในการกำจัดหอยศัตรูพืช
280(2.2)การควบคุมโรคเน่าดำในกล้วยไม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อ Phytophthora palmivora (Butl.)
280(3.1)ศักยภาพของถั่วบราซิล (pinto peanut, Arachis pintoi Krapov. _
280(3.2)ประสิทธิภาพสารสกัดพลู (Piper betle L.) เพื่อควบคุมวัชพืช
281(1.4)ชะลอพัฒนาการของหนอนนกเพื่อใช้เลี้ยงขยายแมลงศัตรูธรรมชาติ
284(1.1)การผลิตขยายแมลงวันผลไม้ Bactrocera correcta (Bezzi) ให้ได้ปริมาณมาก
284(1.2)การผลิตขยายแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) ให้ได้ปริมาณมาก
284(1.3)การผลิตขยายแมลงวันผลไม้ Bactrocera latifrons (Hendel) ให้ได้ปริมาณมาก
284(2.1)ศึกษาผลของโอโซน และปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่ออายุการเก็บรักษาฝรั่งเพื่อส่งออก
284(2.2)ศึกษาผลของโอโซน และปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่ออายุการเก็บรักษาส้มโอเพื่อการส่งออก
284(2.3)ศึกษาผลของโอโซน และปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่ออายุการเก็บรักษาแก้วมังกรเพื่อส่งออก
284(2.4)ศึกษาผลของ โอโซน และปริมาณรังสีจากลำแสงอิเลคตรอนที่มีต่ออายุการเก็บรักษาพริก
288(2.15)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบ,Bemisia tabaci (Gennadius) ในกุหลาบ
291(1.10)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ธาตุอาหารในปุ๋ยเคมีของห้องปฏิบัติการพื้นที่ภาคกลาง
291(2.1)พัฒนาวิธีวิเคราะห์เนื้อดินในดินที่มีขนาดอนุภาคต่างๆ
291(3.4)พัฒนาวิธีวิเคราะห์ และตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ไนเตรทในพืช
292(1.5)(ฉบับแก้ไข)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์สารป้องกันกำจัด
292(1.11)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์กลุ่มสารกำจัดแมลง
293(1.8)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างอะมิทราซ
293(2.1)การจัดทำตัวอย่างอ้างอิงภายในสำหรับการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง
293(2.2)การจัดทำตัวอย่างอ้างอิงภายในสำหรับการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง
293(3.1)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างด้วยวิธีการ QuEChERS
294(1.3)วิจัยสูตรและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์สารสกัดน้อยหน่าเพื่อการป้องกันกำจัดศัตรูพืช
294(2.3)วิจัยสูตรและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์สารสกัดจากแมงลักป่าเพื่อการควบคุมวัชพืช
294(4.2)วิจัยการใช้ธาตุอาหารในการเพิ่มปริมาณสารสำคัญอะซาดิแรคตินในสะเดา
301(1.2)การตรวจสอบการกลายของยีนที่กระตุ้นให้เกิดความต้านทานต่อโรคไวรัสจุดวงแหวนมะละกอ
301(2.1)การโคลนยีนและการแสดงออกของยีน N-acetylglutamate synthase เพื่อให้ทนต่อสภาวะขาดน้ำในพืชต้นแบบ
301(2.3)การถ่ายยีน ERD15 ที่อยู่ในรูป RNAi เข้าสู่พืชต้นแบบ (ยาสูบ) และศึกษาการแสดงออกของยีน
301(2.4)การโคลนยีน PIS (Phosphatidyl Inositol (Pdlns) Synthase) ที่มีผลต่อลักษณะทนแล้งในพืชยาสูบ
301(3.1)การถ่ายยีน Flavonoid 3_,5_ hydroxylase (F3_ 5_H) เข้าสู่หน้าวัว
301(3.2)การโคลนยีนและการถ่ายยีนควบคุมการเกิดสีม่วง-น้ำเงินสู่กุหลาบ
302(1.2)การตรวจสอบเพศอินทผลัมด้วยเครื่องหมายโมเลกุล
302(1.3)การจัดทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอของกล้วยไม้สกุลหวายโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล SSRs
303(1.1)การโคลนยีนแลคเคสที่ควบคุมการย่อยสลายลิกนินทางชีวภาพโดยใช้เทคโนโลยีรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอ
303(2.1)การผลิตเอทานอลจากชานอ้อยและฟางข้าวในระดับชุมชน
303(2.2)การผลิตไบโอเอทานอลจากพืชชีวมวลแบบครบวงจร
303(3.1)การศึกษาการผลิตไบโอดีเซลที่มีจุดแข็งตัวต่ำโดยใช้ไลเปส
303(4.1)การพัฒนาเครื่องปั่นเหวี่ยงแยกตะกอนสาหร่ายชีวมวลในระดับชุมชน
303(4.2)การพัฒนาเครื่องบดละเอียดแบบเปียกพืชชีวมวลสำหรับการผลิตไบโอเอทานอล
304(1.2)การชักนำให้เกิดยอดรวมในอ้อย (Saccharum spp.) ที่ปลอดเชื้อไฟโตพลาสมาโดยใช้ชิ้นส่วนของใบอ่อน
304(1.3)การขยายพันธุ์มันฝรั่งโดยใช้ระบบ Temporary Immersion Bioreactor
304(2.1)การศึกษาเทคนิคและปัจจัยเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อปาล์มน้ำมัน
305(1.1)การตรวจสอบการปนเปื้อนของมะละกอดัดแปรพันธุกรรมและผลิตภัณฑ์แปรรูปด้วยเทคนิค Real-time PCR
305(2.1)การพัฒนาชุดตรวจสอบ ELISA เชิงพาณิชย์เพื่อตรวจโปรตีน CP4EPSPS ของถั่วเหลืองดัดแปรพันธุกรรม
313(1.1)การเก็บรวบรวม อนุรักษ์ และจำแนกชนิดราปฏิปักษ์ควบคุมโรครากปม
313(1.2)การทดสอบคุณสมบัติการเพิ่มขยายราปฏิปักษ์ควบคุมโรครากปมในอาหารต่างๆ
313(2.2)การประเมินศักยภาพของไส้เดือนฝอยในการควบคุมแมลงศัตรูพืช
313(3.1)การเก็บรวบรวม อนุรักษ์ และจำแนกชนิด Bacillus thuringiensis
314(1)การผลิตรีคอมบิแนนท์แอลฟาอะไมเลสและกลูโคอะไมเลสในยีสต์
315(2.1)การลดปริมาณสารโอคราทอกซิน เอ ในพริก
316(1.1)การใช้สารปลอดภัยในการยืดอายุผลพริกหลังการเก็บเกี่ยว
316(4.1)เชื้อราที่ปนเปื้อนพริกขี้หนูระหว่างการเก็บรักษา
317(2.1)Bacillus subtilis ในการยับยั้งเชื้อรา Aspergillus flavus
318(1.2)การตรวจสอบความต้านทานของมอดยาสูบ
318(2.3)บรรจุภัณฑ์ในการควบคุมแมลงศัตรูถั่วเขียว
318(3.1)การผสมน้ำมันหอมระเหยตวบคุมแมลง
319(2.1)การประเมินปริมาณสารพิษแอฟลาทอกซินในพริกป่นโดยเทคนิค Near Infrared Spectroscopy
320(2.1)การตรวจสอบการปนเปื้อนแมลงวันผลไม้
321(1)การสูญเสียด้านปริมาณและคุณภาพของมันเทศ
329(1)พัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์มะม่วง
329(4)พัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์พืชให้เนื้อไม้สกุลอะเคเซีย
329(5)พัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์กล้วยไม้สกุลหวาย
330(1.7)การศึกษาวิธีการ และขั้นตอนในกระบวนการตรวจปล่อยพืชอนุรักษ์วงศ์กล้วยไม้ในช่องทางต่างๆ