ปี 2563 การทดลอง
4(1.1)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินเหนียว-ดินร่วนเหนียว จังหวัดนครสวรรค์Download
4(1.2)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินเหนียว-ดินร่วนเหนียว จังหวัดนครราชสีมาDownload
4(1.3)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินเหนียว-ดินร่วนเหนียว จังหวัดราชบุรีDownload
4(1.4)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินตื้น จังหวัดนครสวรรค์Download
4(1.6)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินร่วน จังหวัดสุพรรณบุรีDownload
4(1.7)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินร่วน จังหวัดกาญจนบุรีDownload
4(1.8)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินทราย-ดินร่วนปนทราย จังหวัดขอนแก่นDownload
4(1.9)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินทราย-ดินร่วนปนทราย จังหวัดชลบุรีDownload
4(1.10)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้ำ ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ดินทราย-ดินร่วนปนทราย จังหวัดอุทัยธานีDownload
11(2.1)การทดสอบการใช้ท่อนพันธุ์สะอาดร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ สารปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดการระบาดของโรคใบขาวอ้อยในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นDownload
11(2.2)การทดสอบการใช้ท่อนพันธุ์สะอาดร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ สารปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดการระบาดของโรคใบขาวอ้อยในพื้นที่จังหวัดอุดรธานีDownload
11(2.3)การทดสอบการใช้ท่อนพันธุ์สะอาดร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ สารปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดการระบาดของโรคใบขาวอ้อยในพื้นที่จังหวัดมุกดาหารDownload
11(3.1)การทดสอบพันธุ์อ้อยในพื้นที่นาข้าวที่ไม่เหมาะสมแต่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์Download
11(3.2)การทดสอบพันธุ์อ้อยในพื้นที่นาข้าวที่ไม่เหมาะสมแต่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในพื้นที่จังหวัดสกลนครDownload
11(3.3)การทดสอบพันธุ์อ้อยในพื้นที่นาข้าวที่ไม่เหมาะสมแต่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลำภูDownload
11(3.4)การทดสอบพันธุ์อ้อยในพื้นที่นาข้าวที่ไม่เหมาะสมแต่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิDownload
11(3.5)การทดสอบพันธุ์อ้อยในพื้นที่นาข้าวที่ไม่เหมาะสมแต่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในพื้นที่จังหวัดมุกดาหารDownload
11(3.6)การทดสอบพันธุ์อ้อยในพื้นที่นาข้าวที่ไม่เหมาะสมแต่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในพื้นที่จังหวัดเลยDownload
15(1.5)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง :การคัดเลือกปีที่ 1 (ลูกผสมปี 2563)Download
15(1.6)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง : การคัดเลือกปีที่ 2 (ลูกผสมปี 2562)Download
15(1.7)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง :การเปรียบเทียบเบื้องต้น (ลูกผสมปี 2561)Download
15(1.8)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง :การเปรียบเทียบมาตรฐาน (ลูกผสมปี 2560)Download
15(1.9)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง
: การเปรียบเทียบในท้องถิ่น (ลูกผสมปี 2559)Download
: การเปรียบเทียบในท้องถิ่น (ลูกผสมปี 2559)Download
15(1.10)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง
: การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร (ลูกผสมปี 2558)Download
: การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร (ลูกผสมปี 2558)Download
15(1.12)การประเมินค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของมันสำปะหลังสายพันธุ์ก้าวหน้าเพื่อใช้ในแบบจำลองการผลิตมันสำปะหลัง (ชุดพันธุ์ที่ 2 ปี 2561-2563)Download
17(2.1)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังในระดับชุมชนตามศักยภาพพื้นที่จังหวัดขอนแก่นDownload
17(2.2)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังในระดับชุมชนตามศักยภาพพื้นที่จังหวัดชัยภูมิDownload
17(2.3)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังในระดับชุมชนตามศักยภาพพื้นที่จังหวัดอุดรธานีDownload
17(2.4)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังในระดับชุมชนตามศักยภาพพื้นที่จังหวัดมุกดาหารDownload
17(2.5)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังในระดับชุมชนตามศักยภาพพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์Download
20(6)การตรวจสอบและคัดเลือกลักษณะแป้งเหนียว (waxy starch) ในมันสำปะหลังโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลDownload
23(3.2)การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหนาและความแน่นเนื้อของเปลือกนอกต่อองค์ประกอบทะลายปาล์มน้ำมันDownload
26(2.3)การจัดการแปลงปาล์มน้ำมันระยะให้ผลผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานีDownload
26(2.4)การจัดการแปลงปาล์มน้ำมันระยะให้ผลผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย์Download
26(2.5)การจัดการแปลงปาล์มน้ำมันระยะให้ผลผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในจังหวัดอำนาจเจริญDownload
26(2.6)การจัดการแปลงปาล์มน้ำมันระยะให้ผลผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในจังหวัดศรีสะเกษDownload
30(3.6)การจัดการธาตุอาหารที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มคุณภาพและผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อนลูกผสมดีเด่น ชุดปี 2551Download
31(2.2)การศึกษาความมีชีวิตของละอองเกสรและความพร้อมรับการถ่ายละอองเกสรของสายพันธุ์พ่อ-แม่ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์สงขลา 84-1Download
32(1.13)ชนิด อัตรา และระยะเวลาการใส่ปุ๋ยเคมีที่เหมาะ สมสำหรับการผลิตข้าวโพดหวานลูกผสมเพื่อบริโภคฝักสดในภาคใต้ : ชุดดินแกลงDownload
32(3.3)การป้องกันกำจัดเชื้อรา Peronosclerospara sorghi สาเหตุโรคราน้ำค้างในข้าวโพดหวานในพื้นที่ปลูกข้าวโพดที่สำคัญDownload
33(1.1)การทดสอบเทคโนโลยีการลดต้นทุนการผลิตข้าวโพดหวานด้วยปุ๋ยชีวภาพ PGPR1ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาDownload
33(1.2)การทดสอบเทคโนโลยีการลดต้นทุนการผลิตข้าวโพดหวานด้วยปุ๋ยชีวภาพ PGPR1ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์Download
33(1.3)การทดสอบเทคโนโลยีการลดต้นทุนการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวด้วยปุ๋ยชีวภาพ PGPR1ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาDownload
33(1.4)การทดสอบเทคโนโลยีการลดต้นทุนการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวด้วยปุ๋ยชีวภาพ PGPR1ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์Download
33(2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการลดต้นทุนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ด้วยปุ๋ยชีวภาพ PGPR1 ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาDownload
35(2.6)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองเพื่อให้มีอายุสั้นและฝักไม่แตก
– การผสมพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์Download
– การผสมพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์Download
35(3.2)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ (ชุดปี 55)
การเปรียบเทียบมาตรฐานDownload
การเปรียบเทียบมาตรฐานDownload
35(3.5)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดกลิ่นหอมให้มีสารต้านอนุมูลอิสระแอนโทไซยานินิ
การผสมพันธุ์ และคัดเลือกพันธุ์Download
การผสมพันธุ์ และคัดเลือกพันธุ์Download
35(4.3)การศึกษาปริมาณการเข้าทำลายของแมลงศัตรูถั่วเหลืองต่อถั่วเหลืองสายพันธุ์ดีเด่น ชุดที่ 2Download
39(2.1)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวผิวดำเพื่อผลผลิตสูง ชุดที่ 1 ปี 2548 : การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรDownload
40(5)ผลของการจัดการปุ๋ยต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพของ ถั่วเขียวที่ปลูกตามข้าวในชุดดิน บุรีรัมย์Download
43(3.8)ศึกษาผลของการจัดการปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมในระบบการปลูกถั่วลิสงหลังนาต่ออัตราการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในนาข้าวในดินร่วนปนทราย จังหวัดบุรีรัมย์Download
47(6.2)การทดสอบสายต้นสับปะรดกลุ่มควีน (สวี ภูเก็ต ตราดสีทอง) ที่ทนทานต่อการเกิดอาการไส้สีน้ำตาลDownload
48(1.7)ศึกษาชนิดและอัตราการให้ปุ๋ยโพแทสเซียมที่เหมาะสมต่อคุณภาพ และผลผลิตสับปะรดภูแลที่เก็บเกี่ยวแต่ละฤดูในรอบปีDownload
49(1.3)การศึกษาการใช้แบคทีเรียละลายทั้งฟอสเฟตและโพแทชที่คัดเลือกไว้กับสับปะรดในสภาพแปลงทดลองDownload
49(2.2)การศึกษาการใช้ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาร่วมกับแบคทีเรียละลายทั้งฟอสเฟตและโพแทชกับสับปะรดในสภาพกระถางDownload
51(1.1)การจัดทรงต้นทุเรียนรูปแบบต่างๆ แนวตั้งในระยะปลูกชิด เพื่อเสริมประสิทธิภาพการผลิตทุเรียนคุณภาพคุณภาพDownload
53(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องใส่ปุ๋ยเคมีกึ่งอัตโนมัติแบบโรยตามแนวปลายทรงพุ่มสำหรับสวนทุเรียนโดยใช้ต่อพ่วงกับรถแทรกเตอร์ขนาดเล็กDownload
55(1.1)การจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของสารโพแทสเซียมคลอเรต ในการชักนำการออกดอกของลำไยในฤดูฝนDownload
57(2.1)การใช้เชื้อราไมคอร์ไรซา (เอ็คโตไมคอร์ไรซา และเอ็นโดไมคอร์ไรซา) ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตกับมังคุดDownload
60(2.1)การคัดเลือกคุณลักษณะพ่อ-แม่พันธุ์มะม่วงที่เหมาะสม เพื่อสร้างมะม่วงสายพันธุ์ใหม่สำหรับการแปรรูปDownload
68(2.1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารในดินกับปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ (Curcuminoids) ของขมิ้นชันDownload
68(2.2) ศึกษาชนิดพืชหมุนเวียนที่เหมาะสมเพื่อแก้ปัญหาการเกิดโรคเหี่ยวในขมิ้นชันพันธุ์ตรัง 84-2Download
68(2.3) การป้องกันกำจัดโรคเหี่ยวจากเชื้อแบคทีเรีย Rolstonia solonacearum ในขมิ้นชันพันธุ์ตรัง 84-2Download
69(2.4) ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพริกไทยด้วงเจาะเถาพริกไทยและเพลี้ยแป้งDownload
72(2)ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการให้ผลผลิต และคุณภาพเมล็ดแมงลัก ระหว่างวิธีการปลูกแบบไว้ตอและการปลูกใหม่Download
75(2.2) การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตฟ้าทะลายโจรเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีDownload
75(3.1) การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตขมิ้นชันเพื่อเพิ่มผลผลิตขมิ้นชันเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ ในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานีDownload
75(5.2) วิจัยเครื่องสกัดสมุนไพรแบบต่อเนื่องในส่วนของชุดอุปกรณ์บดละเอียดด้วยเทคนิคการทำแข็งด้วยก๊าซเฉื่อยพร้อมสกัดด้วยตัวทำละลายDownload
76(1.10)พื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดของหญ้าข้าวนกที่มีกลไกความต้านทานต่อสารกำจัดวัชพืชแบบ multiple resistance ในนาข้าวและการควบคุมDownload
76(2.2)การจัดการสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis Hood ในกุหลาบพวงDownload
76(2.4)การเปลี่ยนแปลงความเป็นพิษของสารฆ่าแมลง spinetoram และ emamectin benzoate ในเพลี้ยไฟฝ้าย Thrips palmi ที่ทำลายDownload
83(2.3)การประเมินความต้องการธาตุอาหารและการจัดการปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตกาแฟอาราบิกาตามผลวิเคราะห์ดินและพืชDownload
84(1)ดัชนีการสุกแก่ต่อปริมาณความหวาน (obrix) ปริมาณทริปโตเฟน และสาร Methylbutanoic Acid ของผลเชอรี่ในกาแฟอาราบิก้าพันธุ์เชียงใหม่ 80 และกาแฟโรบัสต้าพันธุ์ชุมพร 2Download
98(4.1.2)ประสิทธิภาพของสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidants) ที่มีผลต่อการยืดอายุการเก็บรักษาหัวพันธุ์มันฝรั่งDownload
100(1.1) ศึกษาการใช้ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตร่วมกับปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาเพื่อการผลิตพริกขี้หนูผลใหญ่Download
100(2.1) ศึกษาการใช้ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตร่วมกับปุ๋ยชีวภาพอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาเพื่อการผลิตพริกชี้ฟ้าDownload
104(6)ศึกษาความต้องการธาตุอาหารและการจัดการปุ๋ยต่อผลผลิตและคุณภาพพริกขี้หนูผลใหญ่และพริกชี้ฟ้าDownload
110(1.1) การปรับปรุงเผือกพันธุ์พิจิตร1 (Colocasia esculenta (L.) Schott. cv. Phichit1) โดยการฉายรังสีแกมมาในสภาพปลอดเชื้อDownload
110(1.2)การปรับปรุงพันธุ์เผือก THA 022 (Colocasia esculenta (L.) Schott. cv. THA 022) โดยการฉายรังสีแกมมาในสภาพปลอดเชื้อDownload
114(2.2)การเก็บรักษาด้วยเทคนิคซุปเปอร์คูลิงค์ (super-cooling) ต่อคุณภาพของ กะหล่ำปลี พริกชี้ฟ้า มันฝรั่งDownload
119(1.10)อายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมต่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่Download
119(1.24)ศึกษาระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตเมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีนโดยการปลูกด้วยท่อนพันธุ์ในสภาพนDownload
119(1.27)ศึกษาการใช้ปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทส เชียม เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ผักบุ้งจีนในสภาพไร่Download
119(2.9) ผลของการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาท่อนพันธุ์มันสำปะหลังพันธุ์แนะนำDownload
119(2.14) ผลของสภาพการเก็บรักษาต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองที่เก็บเกี่ยวด้วยเครื่องเกี่ยวนวดDownload
119(2.16) อิทธิพลของความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองที่มีต่อความงอกในไร่และการเจริญเติบโตDownload
120(1.1) การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองจังหวัดขอนแก่น แบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(1.3) การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ถั่วเหลืองจังหวัดน่านแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(1.4) การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ถั่วเหลืองจังหวัดเชียงใหม่แบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(1.5)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ถั่วเหลืองจังหวัดเชียงรายแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(1.6) การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ถั่วเหลืองจังหวัดแม่ฮ่องสอนแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(1.7) การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ถั่วเหลืองจังหวัดลำปางแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(1.8) การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ถั่วเหลืองจังหวัดแพร่แบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(1.9)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองจังหวัดอุดรธานีแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(2.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวจังหวัดพิจิตรแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(2.2)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวจังหวัดเพชรบูรณ์แบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(3.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงจังหวัดชัยภูมิแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(4.3) การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์งาดำจังหวัดกาญจนบุรี แบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(4.4)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์งาดำจังหวัดอุบลราชธานีแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(5.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูจังหวัดยโสธร แบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
120(5.2) การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีนจังหวัดสุโขทัย แบบเกษตรกรมีส่วนร่วมDownload
122(1.1)การออกแบบ และสร้างต้นแบบ เครื่องขุดเก็บและปลิดฝักถั่วลิสง ที่ควบคุมการสั่นของขาขุดด้วยระบบอัตโนมัติ แบบติดตั้งท้ายรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก เพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์Download
125(3)การศึกษาการใช้แสงยูวีต่อการกำจัดเชื้อราที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ และผลต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองDownload
125(6)ประสิทธิภาพของสารไบโอแอคทีฟอิลิซิเตอร์ต่อการแสดงออกของยีนที่สามารถกระตุ้นความต้านทานโรคในถั่วเหลืองDownload
128(2.2)การทดสอบและพัฒนาเครื่องกะเทาะเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงพร้อมระบบทำความสะอาดเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์Download
132(1.1) ศึกษาความเป็นพิษต่อหนอนใยผักและปริมาณสารสำคัญของสารสกัด สะเดา หางไหล ว่านน้ำ กากเมล็ดชาน้ำมัน และยาสูบ ในการผลิตพืชระบบเกษตรอินทรีย์ (2559-2563)Download
132(2.5)ทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดพืช สะเดา ว่านน้ำ และหางไหล (Azadirachtin, B-asarone and Rotenone)ที่มีต่อแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติที่พบในแปลงกระเจี๊ยบเขียวDownload
132(2.7 )การศึกษาประชากรของแมลงและไรศัตรูเมล่อนอินทรีย์ที่ปลูกในโรงเรือนตาข่ายและการศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชต่อแมลงและไรศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติในห้องปฏิบัติการDownload
135(2.2)ศึกษาบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ขมิ้นชันแคปซูลเพื่อรักษาปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ น้ำมันหอมระเหย และลดการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อราDownload
135(2.4) ศึกษาผลของระยะเวลาในการเก็บรักษาต่อปริมาณสารกลุ่มโครมีนและไอโซฟลาโวนอยด์ในหัวสดกวาวเครือDownload
135(2.5)ศึกษาผลของระยะเวลา ภาชนะบรรจุ ในการเก็บรักษาต่อปริมาณสารกลุ่มโครมีนและไอโซฟลาโวนอยด์ในกวาวเครือผงDownload
138(1.4)ศึกษาระดับความเข้มข้นและวิธีการใช้ที่เหมาะสมของสารกำจัดโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยวในผลิตผลเกษตรเพื่อการส่งออกDownload
138(1.6) การควบคุมโรคแอนแทรคโนสในกระบวนการผลิตพริกขี้หนูหลังเก็บเกี่ยวโดยการชักนำความต้านทานDownload
138(4.4)ศึกษาผลของสารกลุ่มปลอดภัยร่วมกับน้ำร้อนต่อการควบคุมและกลไกการควบคุมโรคผลเน่าหลังการเก็บเกี่ยวของส้มจากเชื้อรา PenicilliumdigitatumDownload
139(1.3) การควบคุมการปนเปื้อนเชื้อรา Aspergillus flavus และสารแอฟลาทอกซิน บี 1 โดยวิธีการตากและระยะเวลาการเก็บรักษาก่อนการกะเทาะเปลือกถั่วลิสงเพื่อควบคุมการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราหลังการเก็บเกี่ยวDownload
139(3.2)การพัฒนากระดาษจากกากพืชสมุนไพรร่วมกับสารสกัดหยาบสมุนไพรเพื่อใช้ควบคุมการปนเปื้อนเชื้อราในผลิตผลเกษตรหลังการเก็บเกี่ยวและผลิตภัณฑ์Download
140(1.7)การศึกษาระยะเวลาตกค้างบนผิวคอนกรีตของสารฆ่าแมลงบางชนิดที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมด้วงงวงข้าวโพดและมอดแป้งDownload
140(2.5)การใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซไนโตรเจนในภาชนะปิดเพื่อควบคุมแมลงศัตรูผลิตผลเกษตรในระดับการค้าDownload
140(3.2)การใช้เทคนิคเอนแคปซูเลชั่น(encapsulation) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยในการป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูถั่วเขียวDownload
140(3.3)ประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันของแตนเบียน Theocolax elegans (Westwood) และแตนเบียน Anisopteromalus calandrae (Howard) ในการควบคุม ด้วงงวงข้าวโพด Sitophilus zeamais Motschulsky, มอดหัวป้อม Rhyzopertha dominica (F.), และด้วงถั่วเขียว Callosobruchus maculatus (F.)Download
140(4.2)การสำรวจและประเมินความเสียหายของผลิตผลเกษตรที่เก็บรักษาในโรงเก็บเนื่องจากการเข้าทำลายของแมลงศัตรูผลิตผลเกษตรDownload
141(2.2) การประเมินปริมาณเคอร์คูมินอยด์ (Curcuminoids) ในผลิตภัณฑ์ขมิ้นผงโดยเทคนิค Near Infrared SpectroscopyDownload
142(2.2) การตรวจสอบการปนเปื้อนแมลงวันผลไม้ของพริก Bactrocera latifrons (Diptera: Tephritidae) ในพริกขี้หนูโดยใช้เทคนิค Near Infrared SpectroscopyDownload
144(1.4)การพัฒนาและการปรับขยายสเกลกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพให้แคลอรีต่ำสู่โรงงานผลิตDownload
145(1.14)การคัดแยกชนิดและทดสอบประสิทธิภาพการก่อโรคในหนูของโปรโตซัวสกุล Eimeria (Apicomplexa: Coccidia) จากหนูนาใหญ่ (ricefield rat: Rattus argentiventer (Robinson and Kloss, 1916)) เพื่อนำมาผลิตเป็นสารชีวภัณฑ์กำจัดหนูDownload
145(1.17)ศึกษาศักยภาพของเชื้อรา Metarhizium spp. และ Beauveria spp. และ Beauveria spp. ในการควบคุมมอดเจาะผลกาแฟพันธ์อะราบิก้า (Hypothenemus hampei)Download
145(1.18)ศึกษาชนิดและประเมินศักยภาพแมลงศัตรูธรรมชาติของหนอนใยผักPlutella xylostella L. ในแหล่งปลูกภาคกลางDownload
145(2.9) การคัดเลือกและทดสอบประสิทธิภาพแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคใบจุดพริกที่เกิดจากแบคทีเรียDownload
146(1.35)ทดสอบผลของสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูมะพร้าวต่อแมลงศัตรูธรรมชาติของหนอนหัวดำมะพร้าว (Opisina arenosella Walker)Download
146(1.36)ประสิทธิภาพของเชื้อ Bacillus thuringiensisโดยใช้เครื่องพ่นสารชนิดต่างๆ ในการป้องกันกำจัดหนอนกระทู้หอม Spodoptera exigua (HÜbner) ในหอมแบ่งDownload
146(1.39) ผลของสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชต่อการมีชีวิตและประสิทธิภาพของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง Steinernema carpocapsaeDownload
149(1.1) ศึกษาประสิทธิภาพของพันธุ์พริกทนทานและสารชีวภัณฑ์ที่เหมาะสมต่อเกษตรกรผู้ปลูกพริกในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบนDownload
149(2) การสร้างแปลงต้นแบบการและส่งเสริมให้เกษตรผลิตและใช้สารชีวภัณฑ์การกำจัดโรคในพริกแบบผสมผสานในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบนDownload
150(1.1) ศึกษาวิธีสกัดและวิเคราะห์ปริมาณสารสคอพอเลตินในพืชที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นภาคใต้ตอนล่างDownload
150(2.1)การศึกษาคุณสมบัติการเป็นสารป้องกันการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์บางชนิด (antimicrobial property)Download
154(1.1)การปรับปรุงพันธุ์รองเท้านารีอินทนนท์ลาว (Paphiopedilum grarixianum (Mast.) Guillaum)Download
155(2.3) การจัดการผลิตกล้วยไม้สแปโทกลอททิสลูกผสมคัดเลือกชุดที่ 3 เพื่อเป็นไม้กระถางและผลิตหน่อพันธุ์Download
155(3.4)ศึกษาวิธีการฟอกฆ่าเชื้อและขยายพันธุ์สิงโตกลอกตา (lobbii complex) ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อDownload
156(1)วิจัยและพัฒนาชุดเครื่องมือตรวจสอบกล้วยไม้สกุลหวายตัดดอกหลังการลดความชื้นด้วยเครื่องลด ความชื้นกล้วยไม้แบบอุโมงค์ลมเพื่อการส่งออกDownload
184(1.1)การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการชักนำให้ลิ้นจี่พันธุ์นครพนม 1 ออกดอกและติดผลอย่างต่อเนื่องทุกปีDownload
184(2.1)ศึกษาปริมาณการให้น้ำที่มีผลต่อการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของลิ้นจี่พันธุ์นครพนม 1 ตามค่าวิเคราะห์ดินและใบลิ้นจี่Download
193(1) การศึกษาการไว้จำนวนลำต่อกอที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพไผ่พันธุ์กิมซุ่ง และไผ่ตงศรีปราจีนDownload
197(1.2) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการชักนำการออกดอกของเงาะโรงเรียนบ้านนาสารนอกฤดูในพื้นที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อ. บ้านนาสาร จ. สุราษฎร์ธานีDownload
214(1.1)ระบบการจัดการผลิตพืชเศรษฐกิจชุมชนที่ยั่งยืนโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลาDownload
214(1.2)ระบบการจัดการผลิตพืชผสมผสาน 9 กลุ่มพืช ระดับเครือข่ายชุมชนที่ยั่งยืนโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลาDownload
214(1.3)พัฒนาต้นแบบระบบการจัดการผลิตพืชแบบประณีตที่ยั่งยืนในพื้นที่ฟาร์มขนาดต่างๆ โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลาDownload
226(1.1)การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ ทูร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในจังหวัดชัยนาทDownload
226(2.1)การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ วัน ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในจังหวัดอ่างทองDownload
226(2.2)การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ วัน ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาDownload
226(2.3)การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ วัน ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดหวานแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในจังหวัดนครสวรรค์Download
226(2.4)การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ วัน ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในจังหวัดนครสวรรค์Download
226(2.5)การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ ทรี ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในจังหวัดชัยนาทDownload
226(2.6)การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ ทรี ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง แบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในจังหวัดชัยนาทDownload
228(1.1)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดมหาสารคามDownload
228(1.2)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดบุรีรัมย์Download
228(1.3)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดสุรินทร์Download
2228(1.4)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดนครราชสีมาDownload
228(2.1)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการใช้เครื่องหยอดปุ๋ยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามDownload
228(2.2) ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการใช้เครื่องหยอดปุ๋ยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์Download
230(1.2)การพัฒนาระบบการปลูกพืชไร่อายุสั้นหลังการเก็บเกี่ยวข้าวในพื้นที่ราบริมแม่น้ำชีจังหวัดขอนแก่น และจังหวัดหนองบัวลำภูDownload
230(1.3) การพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืนในระบบการผลิตถั่วลิสงในสภาพนาฤดูแล้งเขตสูบน้ำด้วยไฟฟ้าจังหวัดขอนแก่นDownload
230(1.4) การทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพผลผลิตมะม่วงในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นDownload
232(1.1)การทดสอบเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยและการกำจัดศัตรูพืชในระบบการผลิตมะเขือเทศในพื้นที่ราบริมฝั่งแม่น้ำโขงจังหวัดนครพนมDownload
232(1.2)การทดสอบเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยและการกำจัดศัตรูพืชในระบบการผลิตมะเขือเทศในพื้นที่ราบริมฝั่งแม่น้ำโขงจังหวัดบึงกาฬDownload
232(1.3) การทดสอบเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยและการกำจัดศัตรูพืชในระบบการผลิตข้าวโพดฝักสดในพื้นที่ราบริมฝั่งแม่น้ำโขงจังหวัดมุกดาหารDownload
233(2.2) การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดศัตรูพืชในการผลิตลำไยอินทรีย์ในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ และลำพูนDownload
234(3.1) ทดสอบเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมเพื่อเพิ่มผลผลิตถั่วเขียวผิวมันในจังหวัดแพร่Download
235(6.2)ศึกษากายวิภาควิทยาของแผ่นใบและลักษณะเส้นใยของเตยหนาม (Pandanustectorius)และเตยทะเล (P. odoratissimus)เพื่อการใช้ประโยชน์เชิงเกษตรและอุตสาหกรรม Download
235(6.3)ศึกษา-วิเคราะห์ทางพฤกษเคมีในเตยหนาม PandanustectoriusBlume และเตยทะเล (P. odoratissimusL.f.)เพื่อการใช้ประโยชน์เชิงเกษตรและอุตสาหกรรมDownload
236(2.4)อายุการเก็บเกี่ยวมีผลต่อการให้ผลผลิตไหลและรากบัวของบัวหลวงสายพันธุ์ดีเด่นจากการรวบรวมพันธุ์ในสภาพพื้นที่จังหวัดพัทลุงDownload
237(1.2)พัฒนารูปแบบการจัดการพืชพื้นที่ชุ่มน้ำที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ชุมชน จังหวัดพัทลุงDownload
237(1.3) พัฒนารูปแบบการจัดการพืชพื้นที่ชุ่มน้ำที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ชุมชนจังหวัดตรังDownload
237(2.2) พัฒนารูปแบบการจัดการพืชพื้นที่ชุ่มน้ำที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ชุมชนจังหวัดสุราษฏร์ธานีDownload
238(1.5) การศึกษาปัจจัยต่อการเพิ่มปริมาณราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาเพื่อการผลิตสปอร์แบบเข้มข้นDownload
238(2.4) การใช้สารสกัดจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินและแหนแดงเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตพืชDownload
238(2.6) การเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยใช้จุลินทรีย์ดินร่วมกับการอนุรักษ์ดินเพื่อการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์Download
238(3.1) การศึกษาการใช้จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตร่วมกับจุลินทรีย์ที่ผลิตสารคล้ายฮอร์โมนพืชในการผลิตอ้อย
Download
Download
238(3.2)การศึกษาการปลูกเชื้อไรโซเบียมร่วมกับจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชตระกูลถั่วDownload
245(1.1)การศึกษาการจัดการดินและปุ๋ยอย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดิน และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ. ลพบุรีDownload
245(1.2)การศึกษาการจัดการปุ๋ยและระบบปลูกพืชอย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการเปลี่ยนแปลง คุณภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ. นครสวรรค์Download
245(1.3) การศึกษาการจัดการปุ๋ยร่วมกับการไม่ไถพรวนดินอย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ. นครราชสีมาDownload
245(2.1)การศึกษาการจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตอ้อย จ. ขอนแก่นDownload
245(2.2)การศึกษาวิธีการให้น้ำร่วมกับการจัดการปุ๋ยอย่างเหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตอ้อย จ. ขอนแก่นDownload
245(3.1) การศึกษาการจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลงดินอย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตมันสำปะหลัง จ.ระยองDownload
245(3.2)การศึกษาการจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลงดินอย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในระบบการผลิตมันสำปะหลัง จ. ขอนแก่นDownload
245(3.3) การศึกษการจัดการปุ๋ยและระบบปลูกพืชอย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตมันสำปะหลัง จ. ขอนแก่นDownload
245(4.2)การศึกษาการจัดการดินและปุ๋ยต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในระบบการผลิตถั่วเขียวในสภาพไร่Download
246(3.1)การใช้เชื้อไรโซเบียมเพื่อเพิ่มผลผลิตถั่วเหลืองในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปายDownload
246(3.2)การใช้แบคทีเรียส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปายDownload
246(3.3)การใช้แบคทีเรียส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวโพดในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปายDownload
246(3.4)การใช้จุลินทรีย์ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตกระเทียมในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปายDownload
252(1.19)ผลของการใช้ปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตงาในสภาพดินร่วนปนทรายDownload
255(1.2) การทดสอบพันธุ์กล้วยไข่ที่กลายพันธุ์จากการฉายรังสีในศูนย์วิจัยฯ ที่เป็นแหล่งปลูกต่าง ๆDownload
256(6)ทดสอบการจัดการการผลิตและการจัดการคุณภาพในโซ่อุปทานกล้วยไข่เพื่อการส่งออกตามแหล่งปลูกสำคัญDownload
276(1.3) การทดสอบพันธุ์ส้มลูกผสม ส้มเขียวหวาน และส้มสายน้ำผึ้ง ที่ทนทานต่อโรคกรีนนิ่งในแปลงเกษตรกรDownload
283(2.2) การผลิตเอ็นไซม์จากเชื้อราไตรโคเดอร์มาในอาหารเหลวระดับขวดเขย่า (Flask-Culture technique) ในรูปแบบผงหรือเม็ดแห้งDownload
290(2.1)การให้ปุ๋ยทางระบบน้ำต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักชีคะน้าฮ่องกง และผักกาดหอมกะหล่ำปลี ในระบบโรงเรือนDownload
290(2.2)การให้ปุ๋ยทางระบบน้ำต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของมะเขือเทศเชอรี่ พริกขี้หนูผลใหญ่พริกหยวก แตงโมไร้เมล็ด แตงกวาญี่ปุ่น ในระบบโรงเรือนDownload
292(1.2.1.1) ผลของระดับความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบกที่ปลูกบนวัสดุปลูกแบบแนวดิ่งในอาคารDownload
292(1.2.1.2) ผลของระยะการให้แสงที่ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบกที่ปลูกบนวัสดุปลูกแบบแนวดิ่งในอาคารDownload
292(1.2.1.3) ผลของความหนาแน่นต้นต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบกที่ปลูกบนวัสดุปลูกแบบแนวดิ่งในอาคารDownload
293(1.4)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้าง ไกลโฟเซต (glyphosate) และ กลูโฟซิเนต (glufosinate ) ในพืชตระกูลส้มDownload
293(1.6)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างของสาร ฟโลนิคามิด(flonicamid) และ สารอนุพันธ์ ในพืชตระกูลแตง ด้วยเทคนิค ลิควิดโครมาโทกราฟี-แมสสเปคโทรเมตรี/แมสสเปคโทรเมตรี (LC-MS/MS)Download
293(1.7)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้าง 2,4- ดี (2,4- D) ) และ เอ็มซีพีเอ (MCPA)ในธัญพืชDownload
293(1.11) การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างของสารกำจัดวัชพืช บิสไพริแบก โ-โซเดี่ยม (bispyribac- sodium) อิมาซาพิก (imazapic) เพนดิเมทาลิน (pendimethalin) และ เฮกซะซิโนน (haxazinone) ในธัญพืชDownload
293(1.13)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่มโทลเฟนไพเรด (tolfenpyrad) และ ทีบูเฟนไพแรด (tebufenpyrad) ใน มะเขือเทศ โดยเทคนิค ไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโทกราฟี-แทนเดมแมสสเปกโทรกราฟี (High Performance Liquid Chromatography-Tandem Mass Spectrometry)Download
293(1.18)การศึกษาผลของสารสกัดจากพืช Matrix effect สำหรับการตรวจวิเคราะห์ สาร 129 ชนิด ในผัก ผลไม้ ด้วยวิธี QuEChERS และตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิค ไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโทกราฟี-แทนเดมแมสสเปกโทรกราฟี (High Performance Liquid Chromatography- Tandem Mass Spectrometry)Download
293(1.23) การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างด้วยวิธีการ QuEChERs ของสารกลุ่ม ออร์กาโนฟอตเฟต (Organophosphate) และไพรีทรอยด์ (Pyrethroid) ใน กระเทียม หอมแดง และใบชา (แห้ง)Download
293(3.8) การตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่ม ออร์กาโนฟอตเฟต (Organophosphate) ออร์กาโนคลอรีน (Organochlorine) ไพรีทรอยด์ (Pyrethroid) คาร์บาเมต(Carbamate)และสารป้องกันกำจัดโรคพืช (Fungicide) ด้วยวิธีการ QuEChERs ในพืชที่มีปริมาณน้ำและคลอโรฟิลสูงโดยใช้เทคนิคโครมาโทกราฟแมสสเปกโทรเมตรี ของห้องปฏิบัติการ สวพ. 2Download
293(3.13)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างด้วยวิธี QuEChERS ในตัวอย่างผลไม้ กลุ่ม High water and low or no chlorophyll content ด้วยเทคนิค LC-MS/MS ของห้องปฏิบัติการ สวพ.4Download
294(2.30)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่นฝ้าย Amrasca biguttula biguttula (Ishida) ในกระเจี๊ยบเขียวโดยวิธีรองก้นหลุมDownload
294(2.33)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคใบจุดสีม่วง(purple blotch) ของหอมหัวใหญ่สาเหตุจากเชื้อราAlternaria porri (Ellis) CiferriDownload
294(2.34)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคราสนิมของข้าวโพดหวานสาเหตุจากเชื้อรา Puccinia polysoraDownload
294(2.37)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคใบไหม้มันฝรั่งสาเหตุจากเชื้อรา Phytophthora infestansDownload
294(2.39)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคต้นเน่าแห้งของกล้วยไม้สาเหตุจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii Sacc.erotium rolfsii Sacc.Download
294(2.40)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ของหน้าวัวสาเหตุจากเชื้อ Xanthomonas axonopodispv. DieffenbachiaeDownload
294(2.41)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคเน่าดำถั่วเขียวสาเหตุจากเชื้อรา Macrophomina phaseolinaDownload
294(2.53)ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบ Bemisia tabaci (Gennadius) ในถั่วเหลืองDownload
294(2.55)ประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดไรศัตรูพืช ในการป้องกันกำจัดไรแดงแอฟริกัน (Eutetranychus africanus (Tucker)) ในมะละกอDownload
295(2.6)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของ โฟลนิซามิด flonicamid ในมะเขือ เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้างDownload
295(2.7)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของ คลอแรนทรานิลิโพล (chlorantraniliprole) ในมะเขือ เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้างDownload
295(2.8)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของอินด๊อกซาคาร์บ(indoxacarb)ในมะเขือ เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้างDownload
296(2.1)พัฒนาคู่มือคุณภาพให้สอดคล้องกับระบบตรวจติดตามหน่วยรับรองและโรงงานผลิตสินค้าพืชที่ได้รับการขึ้นทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตรDownload
303(1.13)ชนิดศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ผักกาดกวางตุ้งนำเข้าจากประเทศนิวซีแลนด์และสาธารณรัฐประชาชนจีน Download
305(11)การศึกษาสถานภาพของเชื้อไวรัส Sri Lankan cassava mosaic virus SLCMV สาเหตุโรคใบด่างมันสำปะหลังDownload
306(2.2.7)การศึกษาลักษณะทางชีววิทยาและชีวโมเลกุลของเชื้อ Pepper vein yellows virus (PeVYV) ที่เข้าทำลายพริกในประเทศไทยDownload
306(3.9) การใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ดเพื่อจำแนกเชื้อรา Trichoderma asperellum T. harzianum และ T. virideDownload
306(3.11)การศึกษาดีเอ็นเอบาร์โค้ดเพื่อการจำแนกชนิดเพลี้ยไฟอันดับย่อย Tubulifera (Thysanoptera Tubulifera) ในประเทศไทยDownload
307(6)การจัดการวัชพืชประเภทใบกว้าง หญ้ายางนงนุช (Euphorbia sp.) หญ้ายอดหนอน (Spigelia anthelmia L.) และเอื้องชมพู (Persicaria capitata (Buch.- Ham. ex D.Don)Download
308(1.)ชีวชนิด (biotype) ของแมลงหวี่ขาวยาสูบ Bemisia tabaci (Gennadius) (Hemiptera: Aleyrodidae) ที่เป็นพาหะของโรคใบหงิกเหลืองในพริก (Pepper yellow leaf curl virus) ในประเทศไทยDownload
308(2)ชนิดของเพลี้ยอ่อน (Hemiptera Aphididae) ที่เป็นพาหะของเชื้อ Polerovirus ในพริก และแตงกวาDownload
308(4.)ชนิดของเพลี้ยไก้แจ้ส้ม (Hemiptera Psyllidae) ที่เป็นพาหะนำโรคกรีนนิ่ง (Citrus greening disease) ของพืชตระกูลส้มในประเทศไทยDownload
309(2.9)ผลิตชุดตรวจสอบ(Strip Test) จากแอนติบอดีของโปรตีนลูกผสม SecA ต่อเชื้อไฟโตพลาสมาสาเหตุโรคใบขาวอ้อยDownload
309(2.11) การจำแนกชนิดแมลงวันแตง Zeugodacus cucurbitae (Coquillet) (Diptera: Tephritidae) อย่างรวดเร็วด้วยไพรเมอร์ที่มีเฉพาะเจาะจงจาก cox1 เพื่อประโยชน์ในการส่งออกและนำเข้าDownload
310(3.2)วิจัยและพัฒนาการขยายพันธุ์พลับพลึงธารโดยใช้การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชระบบอาหารเหลวแบบจมชั่วคราว (Temporary Immersion Bioreactor: TIB) เพื่อการ คุ้มครองและใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนDownload