ปี 2560

4(1.17)การคัดเลือกโคลนอ้อยชุด 2555 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

5(1.2)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์อ้อยชุดปี 2553 เขตน้ำฝน อ้อยปลูก ตอ1 ตอ2เก็บเกี่ยว

5(1.4)การคัดเลือกครั้งที่ 2 โคลนอ้อยชุดปี 2556 เขตน้ำฝน (เก็บเกี่ยว)

5(1.13)การเปรียบเทียบมาตรฐานเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพพันธุ์อ้อยชุดปี 2553 เขตน้ำฝน

5(2.3)ศึกษาจำแนกเชื้อสาเหตุโรคเน่าของปัญจขันธ์และการป้องกันกำจัดโดยชีววิธี

9(1)ออกแบบ และพัฒนาไถระเบิดดินดานชนิดสั่นที่ขา 2 ขาแบบมีชุดควบคุมความถี่ในการสั่น

9(1.12)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสั้นสีน้ำตาลที่ทนทานต่อศัตรูฝ้ายที่สำคัญ (เก็บเกี่ยว)

11(1)การพัฒนาเครื่องบำรุงอ้อยตอแบบอัตโนมัติ

12(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินแบบแยกถังปุ๋ยสำหรับอ้อย

13(1)การศึกษากลไกควบคุมการทำงานของยีนสังเคราะห์เอนไซม์ PPO

17(1.1)การศึกษาการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มออกซินร่วมกับสารอะดีนิน เพื่อเพิ่มศักยภาพในการชักนำเซลล์โซมาติกของมันสำปะหลัง พันธุ์แนะนำ

17(2.1)การศึกษาปัจจัยการเกิดเซลล์โซมาติกจากคัพภะของลูกผสมเปิด ปี 2558 จากต้นแม่มันสำปะหลังพันธุ์แนะนำในประเทศไทย

17(2.2)การศึกษาปัจจัยการเกิดเซลล์โซมาติกจากคัพภะของลูกผสมเปิดปี 2558 จากต้นแม่เชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลังพันธุ์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์จำนวน 4 สายพันธุ์

18(1.4)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง ผสมพันธุ์พันธุ์มันสำปะหลัง (ลูกผสมชุดปี 2560 )

18(1.6) การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผล

18(1.7)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง

18(1.8) การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง การเปรียบเทียบมาตรฐาน (ลูกผสมปี 2557)

18(1.11)การประเมินความสามารถในการสะสมน้ำหนักได้เร็วของสายพันธุ์มันสำปะหลัง (ลูกผสมปี 2555)

18(2.1)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อบริโภค การผสมพันธุ์ (ลูกผสมชุดปี 2560 )

18(2.2)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อบริโภค การคัดเลือกปีที่ 1 (ลูกผสมปี 2560)

21(2.3)การประเมินความหนืดในมันสำปะหลังด้วย NIR

21(2.4)การประเมินอมิโลสในมันสำปะหลังด้วย NIR

22(1.2)ออกแบบและพัฒนาเครื่องจักรและอุปกรณ์ในระบบทำความสะอาดมันเส้น

22(1.10) การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร (ลูกผสมปี 2555)

35(1.1)การทดสอบความเข้มข้นของ SO2 ที่เหมาะสมในการรมลำไยร่วมกับการใช้แผ่นระเหยโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์

35(2.1)การใช้โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ (SMS) ผสมกรดเกลือ (HCl) ทดแทนการรมควันด้วย SO2

35(3.1)การทดสอบประสิทธิภาพเครื่องตรวจ SO2 แบบเร็วทดแทนการไทเทรต

36(1.1)การศึกษาระยะระหว่างแถวและจำนวนประชากรที่เหมาะสมสำหรับปรับใช้กับรถแทรกเตอร์

36(1.2)พันธุ์และระยะปลูกที่เหมาะสมสำหรับผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเขตจังหวัดปทุมธานี

36(1.3)(ฉบับแก้ไข)ผลของช่วงปลูกต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองในจังหวัดแม่ฮ่องสอนและแพร่

36(1.5)เทคโนโลยีการผลิตและการประเมินคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองและโรคที่ติดมากับเมล็ดในแหล่งผลิตเขตภาคเหนือตอนบน

36(1.11)ศึกษาอายุการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 84-1

36(1.14)ศึกษาพัฒนาการการสุกแก่ของเมล็ดงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 และงาดำพันธุ์อุบลราชธานี 3

36(1.16)ศึกษาการทำลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานี 1 ด้วยการแช่น้ำร้อนและเอทีฟอน

36(2.1)รูปแบบโรงตากลดความชื้นเมล็ดพันธุ์พลังงานแสงอาทิตย์ที่เหมาะสมสำหรับเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง

36(2.4)การใช้ก๊าซโอโซนในการกำจัดด้วงถั่วเหลือง (Callosobruchus chinensis Linnaeus)) ในโรงเก็บเมล็ดพันธุ์

36(2.5)การใช้คลื่นความถี่วิทยุในการควบคุมกำจัดด้วงถั่วเหลือง

36(2.6)การศึกษาอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์นครสวรรค์ 3

36(2.7)(ฉบับแก้ไข)ผลของการเคลือบเมล็ดด้วยสารป้องกันกำจัดโรคราน้ำค้างและแมลงศัตรูต่อคุณภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวาน

37(1.1)การพัฒนาวิธีการประเมินคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองและถั่วเขียวโดยการวัดค่าการนำไฟฟ้า

41(1.1)การคัดเลือกทุเรียนลูกผสมที่ทนทานและหรือต้านทานต่อเชื้อรา Phytophthora palmivora (Butler) Butler

41(2.1)การคัดเลือกทุเรียนพันธุ์พื้นเมืองที่ทนทานและหรือต้านทานต่อเชื้อรา Phytophthora palmivora (Butler) Butler

42(1)ศึกษาความมีชีวิตของละอองเกสรทุเรียนพันธุ์ต่างๆที่อุณหภูมิต่างกันและพัฒนาวิธีเก็บละอองเกสรเพื่อใช้ในการผสมพันธุ์(ปี2560)

42(1)ศึกษาความมีชีวิตของละอองเกสรทุเรียนพันธุ์ต่างๆที่อุณหภูมิต่างกันและพัฒนาวิธีเก็บละอองเกสรเพื่อใช้ในการผสมพันธุ์(ปี2560)

43(1.2)การศึกษาปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองที่สูญเสียไปกับผลผลิตทุเรียนพันธุ์การค้าในแหล่งผลิตภาคตะวันออก

49(1.3)การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุยาว

49(2.3)การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุสั้น

50(1.2)ศึกษาการตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ NSX042022 ในกลุ่มดินเหนียว-ร่วนเหนียวสีดำ จ.นครสวรรค์

50(1.3)ศึกษาการตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ NSX042022 ในกลุ่มดินเหนียว-ร่วนเหนียวสีแดง จังหวัดนครราชสีมา

50(1.5)ศึกษาการตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ NSX042022 ในกลุ่มดินร่วนเหนียวปนทราย-ร่วนปนทรายแป้ง จ.อุทัยธานี

50(2.2)ศึกษาการตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ NSX052014 ในกลุ่มดินเหนียว-ร่วนเหนียวสีดำ จ.นครสวรรค์ลพบุรี

50(2.5)ศึกษาการตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ NSX052014 ในกลุ่มดินร่วนเหนียวปนทราย-ร่วนปนทรายแป้ง จ. อุทัยธานี

52(1.1)อายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

52(1.2)ความชื้นเมล็ดที่เหมาะสมในการเก็บรักษาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

52(1.3)วิธีการลดความชื้นเมล็ดที่เหมาะสมในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

52(1.4)วิธีและระยะเวลาการเก็บรักษาเมล็ดที่เหมาะสมในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

53(1.1)ออกแบบและพัฒนาเครื่องบดและแยกซังข้าวโพดจากเปลือกและซังเพื่อเตรียมวัตถุดิบสำหรับผลิตเอทานอล

53(2.1)ออกแบบและพัฒนาเครื่องอัดวัสดุปลูกกล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับจากวัสดุเหลือทิ้งของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

54(1.8)ผลของระยะปลูกที่มีต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ของข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์สงขลา84-1

54(3.2)การเปรียบเทียบมาตรฐานข้าวโพดฝักอ่อนลูกผสมเดี่ยว ชุดปี 2551

55(2.1)(ฉบับแก้ไข)ผลของการจัดระยะปลูกข้าวโพดหวานต่อผลผลิตและคุณภาพของฝักสดในฤดูแล้งและฤดูฝนของภาคใต้ในสภาพดินนา

55(3.4)ผลของการใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทใช้ก่อนวัชพืชงอกในข้าวโพดหวาน

55(3.5)ผลของการใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทใช้หลังวัชพืชงอกในข้าวโพดหวาน

63(2.1)(ฉบับแก้ไข)ศึกษาชนิดต้นตอที่เหมาะสมกับมะนาวพันธุ์การค้า

63(2.2)(ฉบับแก้ไข)วิธีการตัดแต่งเพื่อควบคุมขนาดและทรงพุ่มต้นมะนาวที่เจริญบนต้นตอ

64(2.1)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบเทคโนโลยีการควบคุมขนาดและทรงพุ่มต้นส้มโอสวนเก่าในภาคเหนือตอนล่าง(จ.พิจิตร และ จ.เพชรบูรณ์)

64(3.1)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตส้มโอนอกฤดูเชิงการค้าโดยวิธีควั่นกิ่งต้นร่วมกับการให้สารพาโคลบิวทราโซลทางดินในภาคเหนือตอนล่าง (จ.พิจิตร และ จ.เพชรบูรณ์)

65(4)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตส้มโอพันธุ์ทองดีอย่างมีคุณภาพในแปลงเกษตรกร

70(1.1)การเปรียบเทียบสายต้นกล้วยน้ำว้าในศูนย์วิจัยฯ ที่เป็นแหล่งปลูก

72(2)ผลของการใช้สารชะลอการเจริญเติบโตบางชนิดต่อการหักล้มของกล้วยไข่

73(1)การทดสอบพันธุ์มะละกอพันธุ์ปลักไม้ลาย

79(3.1)ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงและเชื้อไวรัส NPV กับหนอนกระทู้หอม

81(1)การคัดเลือกสายต้นอาโวกาโดที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ต่างๆ

82(1.1)(ฉบับแก้ไข)อนุรักษ์พันธุ์และศึกษาเชื้อพันธุกรรมมะเดื่อฝรั่งจากยุโรป

82(2.1)การทดสอบพันธุ์เกาลัดจีน

82(3.1)การเปรียบเทียบพันธุ์ลูกผสมพี้ชและเนคทารีนสายพันธุ์คัด

83(2.1)ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีการให้ปุ๋ยเคมีในไม้ผลจากคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตรของเกษตรกรในภาคกลางและภาคตะวันตก

84(1)การเปรียบเทียบมะพร้าวลูกผสมสามทาง

84(2)การสร้างแปลงพ่อ-แม่พันธุ์แม่พันธุ์มะพร้าวพันธุ์ไทยด้วยวิธีการควบคุมผสมพันธุ์แบบใกล้ชิด (Controlled sib pollination)

90(1.1)การสร้างพันธุ์ลูกผสมกาแฟโรบัสตา

91(1.4)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอาราบิก้าสายพันธุ์ต้านทานโรคราสนิมลูกผสมชั่วที่ 5

91(1.7) การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสม Sarch

96(1.4)การศึกษาปริมาณสารคาเทชินในสายพันธุ์ชา (Camellia sinensis L.) ที่ปลูกในระดับความสูงแตกต่างกัน (เรื่องเต็ม)

96(2.2.1)ศึกษาการขยายพันธุ์ชาจีนด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

96(3.1)การศึกษาวิธีการแปรรูปชาขาว

96(3.2)การศึกษาวิธีการแปรรูปชาเขียวคั่ว

96(3.3)การศึกษาวิธีการแปรรูปชาเทียะกวนอิม

101(2.3)การศึกษาดัชนีการเก็บเกี่ยวชาน้ำมัน

105(2)การเปรียบเทียบพันธุ์มันเทศอายุเก็บเกี่ยวสั้น

106(1.2)การเปรียบเทียบพันธุ์มันเทศลูกผสมเนื้อสีม่วงที่มีสารแอนโทไซยานินสูง

106(1.4)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบพันธุ์มันเทศเพื่อการอุตสาหกรรมแป้งในแปลงเกษตรกร

110(1.2.1)การศึกษาระบบผลิตต้นแม่พันธุ์ในระบบไฮโดรโพนิค

110(1.2.2)การเพิ่มปริมาณหัวพันธุ์มันฝรั่งขนาดเล็ก (microtubers) โดยระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราว

110(2.1.1)การผลิตมันฝรั่งต้านทานโรคใบไหม้นอกฤดูในเขตภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง

110(3.1.2)การทดสอบประสิทธิภาพสารในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟในมันฝรั่ง

113(1)การเปรียบเทียบพันธุ์พริกต้านทานแอนแทรค

113(2)การเปรียบเทียบพันธุ์พริกจินดาสายพันธุ์

117(2.1) แก้ไข ผลการตัดแต่งทรงพุ่มที่มีต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของสตอ

121(2.2.1)การป้องกันกำจัดหนอนเจาะสมอฝ้าย Helicoverpa armigera

121(2.2.2)ทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดสะเดา น้ำมันปิโตรเลียม และสารฆ่าแมลงกลุ่มใหม่ในการป้องกันกำจัดหนอนแมลงวันชอนใบ Liriomyza sp

128(1.1)การพัฒนาโรงเรือนต้นแบบและวัสดุปลูกที่เหมาะสม

129(3.1)ผลของอุณหภูมิและความชื้นที่มีต่อความเสียหายจากการทำลายของบั่วกล้วยไม้, Contarinia maculipennis Felt ในกล้วยไม้สกุลหวาย

129(3.2)ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดบั่วกล้วยไม้ในกล้วยไม้สกุลหวาย

129(3.3)เทคนิคการพ่นสารเครื่องพ่นหมอกในการป้องกันกำจัดบั่วกล้วยไม้

129(3.4)ศึกษาผลของสภาพน้ำที่มีต่อประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงและอายุการใช้งานของหัวฉีดที่ใช้ในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟฝ้ายในกล้วยไม้

132(2.1)การทดสอบพันธุ์กล้วยไม้สกุลสแปโทกลอททิสลูกผสมชุดที่ 3

135(1.1)การใช้วิธีการจัดการดินร่วมกับการใช้แบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคเหี่ยวของปทุมมา

135(4.1)การรวบรวม ศึกษา จำแนก และประเมินคุณค่าเชื้อพันธุกรรมพืชกลุ่มปทุมมาและกระเจียว

135(4.3)การทดสอบการผลิตและการตลาดปทุมมาลูกผสมชุดที่ 3 (2)

136(1) ผลกระทบของเพลี้ยไฟในพืชเศรษฐกิจต่อการผลิตเบญจมาศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

146(2.5)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองเพื่อผลผลิตสูง (ชุดปี 55)- การคัดเลือกพันธุ์

146(3.2)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ (ชุดปี 55)- การคัดเลือกพันธุ์

146(4.1)การศึกษาประเมินการเข้าทำลายแมลงศัตรูถั่วเหลืองต่อถั่วเหลืองสายพันธุ์ดีเด่นชุดที่ 1

146(4.2)การประเมินความต้านทานของพันธุ์ถั่วเหลืองดีเด่นต่อเชื้อสาเหตุโรคราสนิม

147(1.1)อัตราปุ๋ยโพแทสเซียมที่มีผลต่อปริมาณสารไอโซฟลาโวนในถั่วเหลือง

147(1.2)(ฉบับแก้ไข)การใช้เครื่องจักรกลในการผลิตถั่วเหลืองเพื่อลดต้นทุนการผลิต

147(1.10)ผลของจำนวนแถวและขนาดแปลงกว้างต่อผลผลิตฝักสดมาตรฐานของถั่วเหลืองฝักสด

147(1.11)อัตราที่เหมาะสมของปุ๋ยมูลไก่ที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพของถั่วเหลืองฝักสด

147(2.2)ศึกษาการเข้าทำลายของแมลงศัตรูถั่วเหลืองที่ปลูกในช่วงปลูกแตกต่างกัน

147(3.4)ผลของคลื่นความถี่วิทยุต่อคุณภาพถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง

147(3.5)วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากโยเกิร์ตถั่วเหลือง โลชั่นบำรุงผิวโยเกิร์ตถั่วเหลือง

147(3.6)วิจัยและพัฒนาการผลิตสบู่เหลวถั่วเหลือง

148(1)ทดสอบเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตถั่วเหลือง จังหวัดลำปาง

150(1.1)(ฉบับแก้ไข)การใช้ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมร่วมกับปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะหืดินเพื่อเพิ่มผลผลิต

152(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องแยกเปลือกจากถั่วเขียวซีกแช่น้ำ

154(1.2)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดปานกลางเพื่อผลผลิตสูงชุดที่ 1

154(1.3)การเปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดปานกลางเพื่อผลผลิตสูง ชุดที่ 2

154(2.1)ศึกษาค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของถั่วลิสงสายพันธุ์ดีเด่น ชุดที่ 1

154(2.5)ปฏิกิริยาของสายพันธุ์ก้าวหน้าถั่วลิสงต่อโรคใบจุดและราสนิม

154(2.6)ปฏิกิริยาของสายพันธุ์ก้าวหน้าถั่วลิสงต่อโรคโคนเน่า

154(3.1)การประเมินศักยภาพของพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มในจังหวัดเชียงใหม่

154(3.2)ผลของอัตรายิปซั่มต่อผลผลิตถั่วลิสงฝักต้มในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

154(3.4)การประเมินศักยภาพของพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มในจังหวัดอุบลราชธานี

154(3.6)การประเมินศักยภาพของพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มในจังหวัดสงขลา

156(1.1)ระยะวิกฤตของวัชพืชต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของงา

156(1.2)(ฉบับ2)การใช้สารชะลอการเจริญเติบโต (พาโคลบิวทราโซล) ในการผลิตงา

156(1.3)ผลของวิธีการเตรียมดินปลูกต่อผลผลิตของการปลูกงาโดยใช้เครื่องปลูกแบบพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์

156(1.4)(ฉบับ2)ศึกษาวิธีการปลูกและอัตราปุ๋ยต่อการปลูกงาในสภาพนาชลประทาน

156(1.5)ผลของวันปลูกต่อการเข้าทำลายของแมลงวันศัตรูงา

156(1.9)ศึกษาอัตราการใช้สารคลุกเมล็ดเพื่อควบคุมโรคไหม้ดำ

157(2)การปรับปรุงพันธุ์งาดำเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบพันธุ์ในไร่เกษตรกร พันธุ์งาดำเพื่อผลผลิตสูง

158(2.2)ระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตทานตะวันเชียงใหม่ 1 ในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์

159(1.12)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสั้นสีน้ำตาลที่ทนทานต่อศัตรูฝ้ายที่สำคัญ

159(1.16)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ฝ้ายเส้นใยยาวพิเศษ (เก็บเกี่ยว)

159(1.20)การคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายใบขนทนทานต่อแมลงศัตรูที่สำคัญแบบ Modal Bulk (เก็บเกี่ยว)

160(1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องหีบฝ้ายสำหรับการคัดแยกเมล็ดและทำความสะอาดปุยฝ้าย

161(1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องสางฝ้ายสำหรับการตีฟูปุยฝ้าย

162(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องปั่นฝ้ายสำหรับการทำเส้นใยฝ้าย

163(1.1)การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างหวานให้ได้ ผลผลิตและคุณภาพสูง การเปรียบเทียบมาตรฐาน

163(1.5)ช่วงเวลาปลูกที่เหมาะสมต่อคุณภาพข้าวฟ่างหวานในฤดูแล้ง

163(2.1)ศักยภาพการให้ผลผลิตและความคุ้มทุนของการผลิตข้าวฟ่างเมล็ดเปรียบเทียบกับการผลิตทานตะวันและถั่วเขียว

165(1.2)การสำรวจและรวบรวมพันธุ์ปัญจขันธ์พันธุ์พื้นเมืองหรือพันธุ์ป่าในสภาพธรรมชาติ

165(2.1)ศึกษาความต้องการธาตุอาหารและการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพปัญจขันธ์

165(2.3)ศึกษาจำแนกเชื้อสาเหตุโรคเน่าของปัญจขันธ์และการป้องกันกำจัดโดยชีววิธี

165(3.1)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลผลิตปัญจขันธ์ที่ปลูกแบบใช้ปุ๋ยเคมี

167(1.1)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และลักษณะทางการเกษตรของหญ้าหวาน

167(1.2)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และลักษณะทางการเกษตรของโกฐเชียง

177(1)วิจัยและพัฒนาเครื่องดองผักแบบความดันอัดอากาศร่วมกับน้ำดองที่ผสมหัวเชื้อน้ำดอง

180(2.1)ทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดพืช สะเดา ว่านน้ำ และหางไหล

180(3.3)การใช้กากเมล็ดชาน้ำมันCamelia sp. ควบคุมหอยและทากศัตรูพืชในแปลงผักอินทรีย์

181(1.1)ศึกษาชนิดของต้นตอมะเขือพื้นบ้านต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของมะเขือเทศพันธุ์สีดาในระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์

181(1.2)การศึกษาชนิดของต้นตอมะเขือพื้นบ้านต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของมะเขือยาวในระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์

181(2.1)การคัดเลือกพันธุ์ถั่วฝักยาวพื้นบ้านที่เหมาะสมในระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์

181(2.2)การคัดเลือกพันธุ์บวบพื้นบ้านที่เหมาะสมในระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์

182(1.1)การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการปรับปรุงบำรุงดินในการผลิตผักตระกูลผักกาดหอมในระบบอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี

182(1.2)การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดด้วงหมัดผักในการผลิตผักตระกูลกะหล่ำในระบบอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี

183(2.1)การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชอ้อยตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสมแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม

184(1.1)การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดศัตรูผักชีฝรั่งอินทรีย์แบบผสมผสานจังหวัดอำนาจเจริญ

184(2.1)การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการปรับปรุงบำรุงดินในการผลิตผลิตผักชีฝรั่งในระบบอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ

184(3.1)การทดสอบระบบการปลูกพืชอินทรีย์ที่เหมาะสมในพื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ

187(1.1)การพัฒนาต้นแบบการจัดการดินปุ๋ยเพื่อการผลิตพืชผักอินทรีย์แบบเกษตรกรมีส่วนร่วม

187(2.1)การพัฒนาต้นแบบการจัดการระบบปลูกพืชผักอินทรีย์แบบเกษตรกรมีส่วนร่วม

188(1.1)(ฉบับแก้ไข)การจัดการดินปุ๋ยเพื่อการผลิตหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ

188(1.2)(ฉบับแก้ไข)การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการสมดุลธาตุอาหารในการผลิตหอมแดงในระบบอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ

189(1.1)(ฉบับแก้ไข)การจัดการดินและปุ๋ยที่เหมาะสมในระบบการผลิตพืชผักอินทรีย์จังหวัดนครราชสีมา

189(2.1)การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดด้วงหมัดผักในการผลิตผักตระกูลกะหล่ำในระบบอินทรีย์พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา

193(1)(ฉบับแก้ไข)การวิเคราะห์เศรษฐสังคมระบบการผลิตมังคุดอินทรีย์ในพื้นที่ภาคตะวันออก

193(2)การวิเคราะห์เศรษฐสังคมระบบการผลิตเงาะอินทรีย์ในพื้นที่ภาคตะวันออก

197(3.1)การวิเคราะห์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของมันสำปะหลังที่มีการจัดการน้ำแตกต่างกัน

201(2.5)การศึกษาประชากรนีมาโทดอิสระเพื่อบ่งชี้ความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย

203(3.1)การพัฒนาเครื่องบีบผลมะขามป้อม

203(3.2)การพัฒนาเครื่องอบแห้งผลไม้สำหรับอบแห้งมะขามป้อม

204(1.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตห้อมในพื้นที่จังหวัดแพร่

208(1)การทดสอบข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 ในจังหวัดน่าน และจังหวัดเชียงใหม่

208(2)ทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จังหวัดน่าน

209(1)(แก้ไข2)ทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคและแมลงหอมแดงให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างในจังหวัดลำพูน

209(2)การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูกะหล่ำปลีที่ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

210(2.1)ทดสอบการผลิตถั่วเขียวในระบบการปลูกพืช (ข้าว-ถั่วเหลือง-ถั่วเขียว) จังหวัดเชียงใหม่

213(1.1)การศึกษาประสิทธิภาพการป้องกันกำจัดด้วงเต่ากินใบกล้วยทำลายใบตองกล้วยตานี

213(1.5)การยืดอายุการเก็บรักษาใบตองกล้วยตานี

215(2.1)ศึกษาต้นตอที่เหมาะสมในการผลิตมะกรูดระยะที่ 2

217(1.5)ทดสอบการเสียบกิ่งกลางทรงพุ่มของต้นตอมะม่วงต่างสายพันธุ์เพื่อเพิ่มผลผลิตในแปลงเกษตรกรจังหวัดพิษณุโลก

217(1.6)ทดสอบการเสียบกิ่งกลางทรงพุ่มของต้นตอมะม่วงต่างสายพันธุ์เพื่อเพิ่มผลผลิตในแปลงเกษตรกรจังหวัดพิจิตร

221(1.1)การทดสอบเทคโนโลยีควบคุมด้วงหมัดผักแบบผสมผสานในพืชผักตระกูลกะหล่ำ (กวางตุ้ง คะน้า) จังหวัดขอนแก่น

221(1.2)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตคะน้าปลอดภัยจังหวัดหนองบัวลำภู

221(1.3)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการควบคุมแมลงศัตรูผักแบบผสมผสานในคะน้าและกวางตุ้งพื้นที่จังหวัดนครพนม

221(1.4)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกะหล่ำปลีปลอดภัยพื้นที่จังหวัดนครพนม

221(1.5)การทดสอบเทคโนโลยีเพื่อควบคุมแมลงวันผลไม้แบบผสมผสานในบวบหอมจังหวัดอุดรธานี

221(1.6)การศึกษาเทคโนโลยีการผลิตผักกาดหอมนอกฤดูที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่จังหวัดขอนแก่น

222(1.1)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารและการจัดการศัตรูพืชในการผลิตพืชผักอินทรีย์จังหวัดกาฬสินธุ์

222(1.2)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารและการจัดการศัตรูพืชในการผลิต พืชผักอินทรีย์จังหวัดขอนแก่น

222(1.3)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารและการจัดการศัตรูพืชในการผลิตพืชผักอินทรีย์จังหวัดนครพนม

222(1.4)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารและการจัดการศัตรูพืชในการผลิต กล้วยอินทรีย์จังหวัดกาฬสินธุ์

222(1.5)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารและการจัดการศัตรูพืชผักอินทรีย์จังหวัดเลย

222(2.1)การศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาเครือข่ายผู้ผลิตและผู้บริโภคพืชอินทรีย์ พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

223(1.2)การป้องกันกำจัดหนอนเจาะขั้วผลลิ้นจี่พันธุ์นครพนม 1

224(1)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขมิ้นชันในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น

224(2)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขมิ้นชันในพื้นที่สกลนคร

224(4)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไพรในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น

225(1.1)การทดสอบการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และสารปรับปรุงดินในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและการไว้ตออ้อยในพื้นที่ที่ผลผลิตอ้อยต่ำและไว้ตอไม่ได้จังหวัดอุดรธานี

225(1.2)การทดสอบการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และสารปรับปรุงดินในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและการไว้ตออ้อยในพื้นที่ที่ผลผลิตอ้อยต่ำและไว้ตอไม่ได้จังหวัดสกลนคร

229(3)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพริกคุณภาพสู่กลุ่มเป้าหมายจังหวัดร้อยเอ็ด

230(1.2)การสร้างแปลงต้นแบบเทคโนโลยีแบบผสมผสานเพื่อควบคุมแมลงวันผลไม้ในน้อยหน่าพื้นเมือง

230(2.1)ทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องคัดขนาดผลน้อยหน่า

234(2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังในนาจังหวัดมหาสารคาม

234(2.4)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบพันธุ์มันสำปะหลังเก็บเกี่ยวที่อายุ 6 เดือนสายพันธุ์ดีเด่นร่วมกับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมจังหวัดนครราชสีมา

234(2.5)การทดสอบพันธุ์มันสำปะหลังอายุเก็บเกี่ยว 6 เดือน ในสภาพนาจังหวัดอุบลราชธานี

234(2.6)การทดสอบเทคโนโลยีพันธุ์มันสำปะหลังสายพันธุ์ก้าวหน้าพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ

241(4)การทดสอบเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารที่เหมาะสมเพื่อการผลิตอ้อยในพื้นที่ดินเหนียว-ร่วนเหนียว

241(5)ทดสอบการปลูกปอเทืองระหว่างร่องอ้อยเพื่อเป็นปุ๋ยพืชสดและคลุมวัชพืชในพื้นที่ปลูกอ้อยในเขตดินร่วนปนทราย

241(6)ทดสอบการปลูกปอเทืองระหว่างร่องอ้อยเพื่อเป็นปุ๋ยพืชสดและคลุมวัชพืชในพื้นที่ปลูกอ้อยในเขตดินร่วนเหนียว

241(7)ทดสอบการเตรียมดินปลูกอ้อยแบบ stripe tillage ในเขตดินร่วน ปนทราย

241(8)ทดสอบการเตรียมดินปลูกอ้อยแบบ stripe tillage ในเขตดินร่วนเหนียว

242(1)ทดสอบปุ๋ยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ชลประทานเรื่องสิ้นสุด60

242(2)ทดสอบพันธุ์และปุ๋ยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในเขตแห้งแล้งเรื่องสิ้นสุด60

242(3)การทดสอบพันธุ์และการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดลี้ยงสัตว์ในพื้นที่แห้งแล้งจังหวัดชัยนาท

242(4)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่แห้งแล้งจังหวัดนครสวรรค์

242(5)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนา

243(1.2)ทดสอบพันธุ์และปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมกับการผลิตมันสำปะหลังในดินทราย จังหวัดนครสวรรค์

243(1.3)ทดสอบพันธุ์และปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมกับการผลิตมันสำปะหลังในดินร่วนปนทราย จังหวัดนครสวรรค์

243(1.4)การทดสอบพันธุ์และปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมกับการผลิตมันสำปะหลัง จังหวัดอุทัยธานี

244(1.1)ทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยชีวภาพในการผลิตถั่วเขียวในพื้นที่หลังนาจังหวัดลพบุรีและจังหวัดสระบุรี

244(1.2)ทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยชีวภาพในการผลิตถั่วเขียวผิวมันหลังนา จังหวัดอุทัยธานี

245(1)การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพในการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดลพบุรีและสระบุรี

245(2)การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพในการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่จังหวัดนครปฐม

245(3)ทดสอบปุ๋ยข้าวโพดฝักสดเรื่องสิ้นสุด60

245(4)ทดสอบการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวจังหวัดอ่างทอง

245(5)ทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในการผลิตข้าวโพดฝักอ่อน จังหวัดนครปฐม

247(3)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตกระเจี๊ยบเขียวให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก

247(5)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตกวางตุ้ง จังหวัดราชบุรี

247(6)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตคะน้าฮ่องกง จังหวัดชัยนาท

247(7)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตกวางตุ้งฮ่องเต้ จังหวัดชัยนาท

247(8)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตผักกาดหอมจังหวัดปทุมธานี

247(9)ทดสอบสูตรธาตุอาหารและการลดปริมาณไนเตรทในการผลิตผักกาดขาว จังหวัดอุทัยธานี

247(13)ทดสอบอัตราส่วนของวัสดุปลูกทดแทนที่เหมาะสมในการผลิตกะเพรา

247(14)ทดสอบอัตราส่วนของวัสดุปลูกทดแทนที่เหมาะสมในการผลิตมะเขือเทศพันธุ์ราชินี

251(2.1)การศึกษาผลของอุณหภูมิและเวลาที่เหมาะสมในการอบแห้งเยื่อหุ้มเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ด้วยเครื่องอบแห้งลมร้อน

253(1)(ฉบับแก้ไข)ศึกษาระยะปลูกและอัตราปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมในการผลิตว่านสาวหลงในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา

257(1)(ฉบับแก้ไข)สำรวจระบบการจัดการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อการส่งออกของเกษตรกร

257(2)(ฉบับแก้ไข)ทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งในลำไยเพื่อการส่งออก

258(3.1)การจัดทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอและการจำแนกกล้วยเล็บมือนางด้วยเทคนิค ISSR (Inter Simple Sequence Repeat)

266(4.1)ศึกษาระบบการปลูกปาล์มน้้ามันอย่างยั่งยืนในพื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วมซ้้าซาก

267(2.3.4)(ฉบับแก้ไข)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร สายพันธุ์ถั่วหรั่งที่ได้จากการผสมข้ามพันธุ์ชุดที่1

267(2.5.1)(ฉบับแก้ไข)การเปรียบเทียบเบื้องต้นสายพันธุ์ถั่วหรั่งชุดปี 51-52

268(1.1)ผลของชนิด ความเข้มข้น และช่วงเวลาการใช้สารชะลอการเจริญเติบโตต่ออายุเก็บเกี่ยวและการให้ผลผลิตของมันขี้หนู

268(1.2)การตอบสนองต่อระดับปุ๋ยไนโตเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในมันขี้หนู

268(1.3)(ฉบับแก้ไข)การปลูกมันขี้หนูระยะชิดร่วมกับการใช้สารชะลอการเจริญเติบโต

268(1.4)อิทธิพลของวันปลูกต่อการเจริญเติบโตทางลำต้น การสร้างหัวและการให้ผลผลิตของมันขี้หนู

269(1.1)ศึกษาระดับการใช้ซิลิกอนที่เหมาะสมสำหรับการเพิ่มผลผลิต ปาล์มน้ำมัน

269(1.2)ศึกษาการใช้จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตสำหรับการผลิตปาล์มน้ำมัน

270(4.1)การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานในจังหวัดยะลา

270(4.2)การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์สงขลา 84-1 ในพื้นที่จังหวัดสตูล

270(4.3)การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์สงขลา 84-1 ในพื้นที่จังหวัดตรัง

270(4.4)การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดหวานพันธุ์สงขลา 84-1ในพื้นที่จังหวัดยะลา

270(4.5)การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์สงขลา 84-1 ใน พื้นที่จังหวัดนราธิวาส

271(3.1)การนำวัสดุเศษเหลือจากการผลิตแป้งสาคูมาใช้เป็นวัสดุเพาะเห็ดแครง

273(2.2)การทดสอบประสิทธิภาพสารชีวภัณฑ์และสารสกัดจากพืชในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟในบัวหลวงในพื้นที่ชุ่มน้ำ

273(2.3)การทดสอบประสิทธิภาพสารชีวภัณฑ์และสารสกัดจากพืชในการป้องกันกำจัดเพลี้ยอ่อนบัวหลวง Rhopalosiphum nymphaeae (L.) ในพื้นที่ชุ่มน้ำ

274(1.1)การสำรวจและรวบรวมพันธุ์กกในแหล่งปลูกภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

274(2.1)ศึกษาส้ารวจแหล่งกระจูด การกระจายพันธุ์ ชนิดของกระจูดและคุณสมบัติของกระจูดในประเทศไทย

274(2.3)ระยะปลูกที่เหมาะสมของกระจูด

274(3.1)การศึกษารูปแบบการเจริญเติบโตของหน่อไม้น้ำที่ปลูกในช่วงเวลาที่แตกต่างกันในสภาพแวดล้อมจังหวัดพัทลุง

274(4.1)การศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ซ้ำสารสกัดเส้นใยพืชในการสกัดเส้นใยดาหลา

274(5.1)สำรวจ รวบรวม และศึกษาต้นคล้าในประเทศไทย

276(2.3)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของละอองเกสรปาล์มน้ำมันนำเข้าจากสาธารณรัฐเบนิน

276(2.7)การศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของผลองุ่นสดนำเข้าจากสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์

276(3.2)การประเมินมาตรการสุขอนามัยพืชในการนำเข้าเมล็ด ผัก และซังข้าวโพดจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและเมล็ดพันธุ์และเมล็ดข้าวโพดจากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์

277(1.5)ชนิดศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ผักกาดหอมนำเข้าจากจีน และสหรัฐอเมริกา

277(1.7)การตรวจติดตามเชื้อ Clavibacter michiganensis subsp. sepedonicus ที่ติดมากับหัวพันธุ์มันฝรั่งนำเข้าจากต่างประเทศ

278(1.4)วิจัยและพัฒนาวิธีกำจัดแมลงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดแมลงวันผลไม้ในผลแก้วมังกรเพื่อการส่งออก

278(2.1)วิจัยและพัฒนาวิธีกำจัดแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera dorsalis (Hendel) ด้วยการแช่น้ำร้อนสำหรับฝรั่งเพื่อการส่งออก

280(1.5)ศักยภาพของราสาเหตุโรคแมลงบางชนิดในการควบคุมเพลี้ยอ่อนดำ Aphis craccivora (Koch)

280(1.6)สำรวจและศึกษาศักยภาพหอยน้ำสกุล Clea ในการเป็นตัวห้ำหอยน้ำศัตรูพืช

280(1.7)การสำรวจและคัดเลือกเชื้อราสกุล Aspergillus ที่มีประสิทธิภาพในการกำจัดหอยศัตรูพืช

280(2.1)การคัดเลือกและทดสอบเชื้อราปฏิปักษ์ที่มีศักยภาพในการควบคุมเชื้อรา Didymella bryoniae สาเหตุโรคยางไหลในพืชตระกูลแตง

280(2.2)การควบคุมโรคเน่าดำในกล้วยไม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อ Phytophthora palmivora (Butl.)

280(3.1)ศักยภาพของถั่วบราซิล (pinto peanut, Arachis pintoi Krapov. _

280(3.2)ประสิทธิภาพสารสกัดพลู (Piper betle L.) เพื่อควบคุมวัชพืช

281(1.4)ชะลอพัฒนาการของหนอนนกเพื่อใช้เลี้ยงขยายแมลงศัตรูธรรมชาติ

281(2.2)การทดสอบประสิทธิภาพแบคทีเรีย Bacillus subtilis ในการป้องกันกำจัดโรคแอนแทรคโนสพริกที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Colletotrichum capsici

281(2.3)การทดสอบประสิทธิภาพของแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคเน่าสีน้ำตาลของกล้วยไม้สาเหตุจากแบคทีเรีย Burkholderia gladioli pv. gladioli

281(2.4)การทดสอบประสิทธิภาพของแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคใบจุดน้ำตาลของกล้วยไม้สาเหตุจากแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. cattleyae

284(1.1)การผลิตขยายแมลงวันผลไม้ Bactrocera correcta (Bezzi) ให้ได้ปริมาณมาก

284(1.2)การผลิตขยายแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) ให้ได้ปริมาณมาก

284(1.3)การผลิตขยายแมลงวันผลไม้ Bactrocera latifrons (Hendel) ให้ได้ปริมาณมาก

284(2.1)ศึกษาผลของโอโซน และปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่ออายุการเก็บรักษาฝรั่งเพื่อส่งออก

284(2.2)ศึกษาผลของโอโซน และปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่ออายุการเก็บรักษาส้มโอเพื่อการส่งออก

284(2.3)ศึกษาผลของโอโซน และปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่ออายุการเก็บรักษาแก้วมังกรเพื่อส่งออก

284(2.4)ศึกษาผลของ โอโซน และปริมาณรังสีจากลำแสงอิเลคตรอนที่มีต่ออายุการเก็บรักษาพริก

288(2.15)ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบ,Bemisia tabaci (Gennadius) ในกุหลาบ

291(1.6)อิทธิพลของปริมาณยูเรียที่มีผลกระทบต่อค่าวิเคราะห์ปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนในตัวอย่างปุ๋ยที่มียูเรียเป็นส่วนผสม

291(1.10)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ธาตุอาหารในปุ๋ยเคมีของห้องปฏิบัติการพื้นที่ภาคกลาง

291(1.11)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์ธาตุอาหารรองในปุ๋ยเคมี ของห้องปฏิบัติการพื้นที่ ภาคตะวันออก

291(1.12)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ธาตุอาหารรองในปุ๋ยเคมีของห้องปฏิบัติการพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

291(2.1)พัฒนาวิธีวิเคราะห์เนื้อดินในดินที่มีขนาดอนุภาคต่างๆ

291(3.4)พัฒนาวิธีวิเคราะห์ และตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ไนเตรทในพืช

292(1.5)(ฉบับแก้ไข)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์สารป้องกันกำจัด

292(1.8)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์กลุ่มสารกำจัดแมลงในผลิตภัณฑ์สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชของห้องปฏิบัติการพื้นที่ภาคกลาง

292(1.9)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์กลุ่มสารกำจัดแมลงในผลิตภัณฑ์สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชของห้องปฏิบัติการพื้นที่ภาคตะวันออก

292(1.11)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์กลุ่มสารกำจัดแมลง

292(1.12)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ของ Butralin และ Trinexapac-ethyl ในผลิตภัณฑ์สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช

293(1.3)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างสไปโรมีซิเฟน (spiromesifen) และอนุพันธ์ในพืชตระกูลมะเขือ

293(1.8)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างอะมิทราซ

293(1.19)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่มคาร์บาเมต (Carbamate) อย่างรวดเร็วในพริกโดยใช้วิธีวัดสี

293(2.1)การจัดทำตัวอย่างอ้างอิงภายในสำหรับการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง

293(2.2)การจัดทำตัวอย่างอ้างอิงภายในสำหรับการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง

293(3.1)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างด้วยวิธีการ QuEChERS

293(3.2)การตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่มออร์กาโนฟอตเฟต ออร์กาโนคลอรีน และไพรีทรอยด์ ในดินด้วยวิธีการ QuEChERs

293(3.3)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้าง Organophosphateและ Pyrethroid ในมะม่วงของห้องปฏิบัติการ สวพ.8

294(1.3)วิจัยสูตรและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์สารสกัดน้อยหน่าเพื่อการป้องกันกำจัดศัตรูพืช

294(2.3)วิจัยสูตรและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์สารสกัดจากแมงลักป่าเพื่อการควบคุมวัชพืช

294(3.3)วิจัยการใช้เทคนิคทีแอลซีสมรรถนะสูง (HPTLC) ในการทำเอกลักษณ์โครมาโทกราฟีของสารสำคัญในหนอนตายหยาก

294(4.2)วิจัยการใช้ธาตุอาหารในการเพิ่มปริมาณสารสำคัญอะซาดิแรคตินในสะเดา

295(1.1)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของคาร์บาริล (Carbaryl) ในทุเรียน เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

295(1.2)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของคลอร์ไพริฟอส (Chlorpyrifos) ในทุเรียน เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

295(3.2)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของฟิโพรนิล (fipronil) ในคะน้า เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

301(1.1)การตรวจสอบการแสดงออกของไซโคลฟิลินและนีโอมายซินฟอสโฟทรานสเฟอเรสทูด้วยเทคนิคการแสดงโปรตีนบนผิวฟาจ

301(1.2)การตรวจสอบการกลายของยีนที่กระตุ้นให้เกิดความต้านทานต่อโรคไวรัสจุดวงแหวนมะละกอ

301(2.1)การโคลนยีนและการแสดงออกของยีน N-acetylglutamate synthase เพื่อให้ทนต่อสภาวะขาดน้ำในพืชต้นแบบ

301(2.2)การโคลน ถ่ายฝากและศึกษายีน GmPR1 เพื่อความต้านทานโรคในพืชต้นแบบ Arabidopsis thaliana สำหรับเตรียมการถ่ายฝากสู่ถั่วเหลือง

301(2.3)การถ่ายยีน ERD15 ที่อยู่ในรูป RNAi เข้าสู่พืชต้นแบบ (ยาสูบ) และศึกษาการแสดงออกของยีน

301(2.4)การโคลนยีน PIS (Phosphatidyl Inositol (Pdlns) Synthase) ที่มีผลต่อลักษณะทนแล้งในพืชยาสูบ

301(2.6)การโคลนยีนและศึกษาการแสดงออกของยีน calreticulin และ calmodulin เพื่อให้ทนต่อสภาวะขาดน้ำและสภาวะเค็มในพืชต้นแบบ

301(3.1)การถ่ายยีน Flavonoid 3_,5_ hydroxylase (F3_ 5_H) เข้าสู่หน้าวัว

301(3.2)การโคลนยีนและการถ่ายยีนควบคุมการเกิดสีม่วง-น้ำเงินสู่กุหลาบ

302(1.1)การพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลเอสเอสอาร์โดยการวิเคราะห์ลำดับเบสยุคใหม่และการจัดทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอในทุเรียน

302(1.2)การตรวจสอบเพศอินทผลัมด้วยเครื่องหมายโมเลกุล

302(1.3)การจัดทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอของกล้วยไม้สกุลหวายโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล SSRs

302(2.1)การใช้เครื่องหมายโมเลกุลเอสเอสอาร์และสการ์ตรวจหาความต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ในเชื้อพันธุกรรมข้าวโพด

302(2.2)การศึกษาความทนทานต่อสภาพน้ำท่วมและสภาพแห้งแล้งของถั่วเหลืองพันธุ์รับรองของกรมวิชาการเกษตรโดยใช้เทคนิคทางชีวโมเลกุล

303(1.1)การโคลนยีนแลคเคสที่ควบคุมการย่อยสลายลิกนินทางชีวภาพโดยใช้เทคโนโลยีรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอ

303(1.2)การโคลนยีนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์กรดไขมันและถ่ายเข้าสู่สาหร่าย Chlamydomonas reinhardtii สำหรับผลิตไบโอดีเซล

303(1.3)การผลิตเอนไซม์ไซลาเนสจากเชื้อรา Aspergillus niger ด้วยวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรโดยกระบวนการหมักแบบแห้ง

303(2.1)การผลิตเอทานอลจากชานอ้อยและฟางข้าวในระดับชุมชน

303(2.2)การผลิตไบโอเอทานอลจากพืชชีวมวลแบบครบวงจร

303(3.1)การศึกษาการผลิตไบโอดีเซลที่มีจุดแข็งตัวต่ำโดยใช้ไลเปส

303(4.1)การพัฒนาเครื่องปั่นเหวี่ยงแยกตะกอนสาหร่ายชีวมวลในระดับชุมชน

303(4.2)การพัฒนาเครื่องบดละเอียดแบบเปียกพืชชีวมวลสำหรับการผลิตไบโอเอทานอล

304(1.1)การขยายพันธุ์ขมิ้นชัน (Curcuma longa Linn.) เชิงการค้า ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อโดยเทคนิคไบโอรีแอคเตอร์

304(1.2)การชักนำให้เกิดยอดรวมในอ้อย (Saccharum spp.) ที่ปลอดเชื้อไฟโตพลาสมาโดยใช้ชิ้นส่วนของใบอ่อน

304(1.3)การขยายพันธุ์มันฝรั่งโดยใช้ระบบ Temporary Immersion Bioreactor

304(2.1)การศึกษาเทคนิคและปัจจัยเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อปาล์มน้ำมัน

305(1.1)การตรวจสอบการปนเปื้อนของมะละกอดัดแปรพันธุกรรมและผลิตภัณฑ์แปรรูปด้วยเทคนิค Real-time PCR

305(1.2)การตรวจสอบข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรมสายพันธุ์ MON810 และ NK603 ด้วยเทคนิค Loop-mediated Isothermal Amplification (LAMP)

305(1.5)ทดสอบความใช้ได้วิธีการตรวจวิเคราะห์คัดกรองยีนCaMV35S promoter และ Nos terminatorข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรมด้วยวิธี Multiplex real-time PCR

305(2.1)การพัฒนาชุดตรวจสอบ ELISA เชิงพาณิชย์เพื่อตรวจโปรตีน CP4EPSPS ของถั่วเหลืองดัดแปรพันธุกรรม

313(1.1)การเก็บรวบรวม อนุรักษ์ และจำแนกชนิดราปฏิปักษ์ควบคุมโรครากปม

313(1.2)การทดสอบคุณสมบัติการเพิ่มขยายราปฏิปักษ์ควบคุมโรครากปมในอาหารต่างๆ

313(2.2)การประเมินศักยภาพของไส้เดือนฝอยในการควบคุมแมลงศัตรูพืช

313(3.1)การเก็บรวบรวม อนุรักษ์ และจำแนกชนิด Bacillus thuringiensis

314(1)การผลิตรีคอมบิแนนท์แอลฟาอะไมเลสและกลูโคอะไมเลสในยีสต์

315(2.1)การลดปริมาณสารโอคราทอกซิน เอ ในพริก

316(1.1)การใช้สารปลอดภัยในการยืดอายุผลพริกหลังการเก็บเกี่ยว

316(4.1)เชื้อราที่ปนเปื้อนพริกขี้หนูระหว่างการเก็บรักษา

317(2.1)Bacillus subtilis ในการยับยั้งเชื้อรา Aspergillus flavus

318(1.2)การตรวจสอบความต้านทานของมอดยาสูบ

318(2.3)บรรจุภัณฑ์ในการควบคุมแมลงศัตรูถั่วเขียว

318(3.1)การผสมน้ำมันหอมระเหยตวบคุมแมลง

319(2.1)การประเมินปริมาณสารพิษแอฟลาทอกซินในพริกป่นโดยเทคนิค Near Infrared Spectroscopy

320(2.1)การตรวจสอบการปนเปื้อนแมลงวันผลไม้

321(1)การสูญเสียด้านปริมาณและคุณภาพของมันเทศ

322(1.1)สารสำคัญของทุเรียนเทศ

329(1)พัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์มะม่วง

329(4)พัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์พืชให้เนื้อไม้สกุลอะเคเซีย

329(5)พัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์กล้วยไม้สกุลหวาย

330(1.7)การศึกษาวิธีการ และขั้นตอนในกระบวนการตรวจปล่อยพืชอนุรักษ์วงศ์กล้วยไม้ในช่องทางต่างๆ

330(2.3)วิจัยและปรับปรุงประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการขึ้นทะเบียนสถานที่เพาะเลี้ยงพืชอนุรักษ์ ตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518

330(2.4)วิจัยและปรับปรุงประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการขยายพันธุ์เทียมตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518

330(2.5)วิจัยและปรับปรุงระเบียบกรมวิชาการเกษตร ว่าด้วยการออกหนังสือรับรองการส่งออกพืชลูกผสมของพืชในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญาไซเตส พ.ศ. 2536

330(2.6)วิจัยและปรับปรุงประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการนำเข้า ส่งออก หรือนำผ่านพืชอนุรักษ์ และซากของพืชอนุรักษ์ตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518