ปี 2559

1(3.1)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้น 300-2

3(1)(แก้ไข)สำรวจการระบาดและสาเหตุของโรคราน้ำค้างอ้อยที่พบในปี 2557

3(2)(แก้ไข)การป้องกันกำจัดโรคราน้ำค้าง (อ้อยปลูก)

4(1)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสภาพแวดล้อมในแหล่งปลูกที่สำคัญของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

5(1.2.2)(ฉบับแก้ไข)การคัดเลือกสารป้องกันกำจัดโรคพืชเพื่อป้องกันกำจัดโรคโคนเน่าหัวเน่ามันสำปะหลังที่เกิดจากรา Phytophthora sp.

5(1.2.3)การคัดเลือกสารป้องกันกำจัดโรคพืชเพื่อป้องกันกำจัดโรคโคนเน่าและหัวเน่าของมันสำปะหลัง ที่เกิดจากรา Sclerotium rolfsii Sacc.

5(2.2)ศึกษาสาเหตุอาการแตกพุ่มแจ้ของมันสำปะหลังที่เกิดจากไรสี่ขาบนใบมันสำปะหลัง

8(1)การจัดการน้ำอย่างประหยัดที่มีผลต่อพัฒนาการของทุเรียน

8(1.1)(ฉบับแก้ไข)การผสมพันธุ์อ้อยชุดปี 2558

8(1.2)(ฉบับแก้ไข)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์อ้อยชุดปี 2550 เพื่อผลผลิตและคุณภาพ อ้อยตอ 2 (เก็บเกี่ยว)

8(1.3)(ฉบับแก้ไข)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์อ้อยชุดปี 2550 เพื่อผลผลิตและคุณภาพ อ้อยตอ 2

8(1.5)(ฉบับแก้ไข)การเปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์อ้อยในเขตชลประทานเพื่อผลผลิตและคุณภาพอ้อยชุดปี 2554 อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 (เก็บเกี่ยว)

8(1.9)(ฉบับแก้ไข)ศึกษาปฏิกิริยาของอ้อยโคลนดีเด่นต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงอ้อยชุดปี 2555

8(2)การจัดดินและน้ำสวนทุเรียนในจังหวัดนนทบุรีที่ได้รับอิทธิพลจากน้ำเค็ม

9(1.1)ศึกษาผลของสารออกซินและไซโตไคนินที่มีต่อการชักนำแคลลัสอ้อย 2 พันธุ์

10(1)ศึกษาขบวนการจัดการวัตถุดิบของผู้ประกอบการผลิตแป้งและวุ้นเส้นที่มีผลกระทบต่อสารพิษตกค้างในเมล็ดและแป้งถั่วเขียว

11(1.1)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวโดยการฉายรังสีเพื่ออายุเก็บเกี่ยวสั้น

11(1.2)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวผิวดำโดยการฉายรังสีเพื่ออายุเก็บเกี่ยวสั้น

11(1.3)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดโดยการฉายรังสีเพื่อผลผลิตสูงและขนาดเมล็ดโต

11(2.1)ศึกษาประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนในระบบการปลูกพืชที่มีข้าวเป็นพืชหลัก โดยการใช้ N15 เทคนิค

13(1)วิจัยเครื่องรวบรวมใบอ้อยแบบอัตโนมัติ

15(1.5)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูง การผสมพันธุ์ (ลูกผสมปี 2559)

17(1.1)ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์มันเส้นที่ได้จากระบบปฏิบัติเดิม

19(2.1)ทดสอบเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมัน ระยะก่อนให้ผลผลิตของเกษตรกรตามศักยภาพพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ เลย นครพนม

19(2.2)ทดสอบเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรระยะก่อนให้ผลผลิตตามศักยภาพพื้นที่ จังหวัดกาฬสินธุ์ สกลนคร อุดรธานี

19(3.1)ทดสอบเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมันระยะให้ผลผลิตของเกษตรกรตามศักยภาพพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ เลย นครพนม

19(3.2)ทดสอบเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรระยะให้ผลผลิตตามศักยภาพพื้นที่ จังหวัดกาฬสินธุ์ สกลนคร อุดรธานี

19(4.1)(ฉบับแก้ไข)การกำหนดชั้นคุณภาพปาล์มและราคารับซื้อตามชั้นคุณภาพที่เหมาะสม

19(5.1)ทดสอบการเก็บเกี่ยวปาล์มน้ำมันเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรในจังหวัดบึงกาฬและจังหวัดหนองคาย

20(1.2.2)ทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการปลูกปาล์มน้ำมันโดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย์

20(1.2.3)ทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการปลูกปาล์มน้ำมันโดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี

20(2.1.1)การจัดการแปลงปาล์มน้ำมันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี

20(2.1.4)การจัดการแปลงปาล์มน้ำมันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย์

20(3.1.4)ทดสอบการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมกับคุณภาพของผลผลิตปาล์มน้ำมันโดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย์

21(2.1)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเคมีในการผลิตปาล์มน้ำมันในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

22(1.1.1)การทดสอบพันธุ์ปาล์มน้ำมันที่เหมาะสมในสภาพพื้นที่เกษตรกร จังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย

22(2.2.1)การทดสอบปุ๋ยเพื่อเร่งการเจริญเติบโตปาล์มน้ำมัน พื้นที่เกษตรกรจังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย กำแพงเพชร

25(1.1)เครื่องกะเทาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ แบบปอกเปลือก ขนาดเล็ก

28(1.7)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาอัตราแถวปลูกสายพันธุ์แท้ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมเดี่ยวสงขลา 84-1

28(2.10)ศึกษาการจัดการธาตุอาหารที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มคุณภาพและผลผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ดีเด่น

28(2.11)ศึกษาระยะปลูกที่เหมาะสมต่อการผลิตของข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ดีเด่น

30(2.1)(ฉบับแก้ไข2)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองให้เหมาะสมเฉพาะพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน- การเปรียบเทียบมาตรฐาน

30(2.2)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองผลผลิตสูงชุดปี 50 การเปรียบเทียบมาตรฐาน

30(2.3)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองผลผลิตสูงชุดปี 51 การเปรียบเทียบมาตรฐาน

30(2.4)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองผลผลิตสูงชุดปี 54 การเปรียบเทียบเบื้องต้น

30(3.1)(ฉบับแก้ไข2)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ (ชุดปี 52)

31(3.1)(ฉบับแก้ไข)พันธุ์ถั่วเหลืองที่เหมาะสมสำหรับผลิตโยเกิร์ตถั่วเหลือง

31(3.2)(ฉบับแก้ไข)อัตราส่วนแป้งสาลีที่เหมาะสมสำหรับผลิตเฟร้นช์ฟรายถั่วเหลือง

31(3.3)ผลของขบวนการเพาะงอกต่อคุณภาพน้ำนมถั่วเหลือง

38(1.6)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มให้ทนทานโรคยอดไหม้ในการเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้น

38(1.10)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วลิสงเพื่อทนทานโรคยอดไหม้ การเปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดปานกลาง

40(11)การเปรียบเทียบในท้องถิ่น พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสั้นสีน้ำตาลที่ทนทานต่อศัตรู ฝ้ายที่สำคัญ (เก็บเกี่ยว)

40(15)การเปรียบเทียบในท้องถิ่น พันธุ์ฝ้ายเส้นใยยาวพิเศษ (เก็บเกี่ยว)

40(19)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ฝ้ายใบขนที่ทนทานต่อแมลงศัตรูฝ้ายที่สำคัญ (เก็บเกี่ยว)

42(1)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์งาขาวเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบพันธุ์ในไร่เกษตรกร

42(3)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์งาแดงเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร

42(4)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์งาฝักไม่แตกง่าย การเปรียบเทียบเบื้องต้น

42(5)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์งาแดงผลผลิตสูงชุดปี 2556 การเปรียบเทียบเบื้องต้น

42(6)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์งาขาวเพื่อผลผลิตสูงชุดปี 2556 การเปรียบเทียบเบื้องต้น

42(7)(ฉบับแก้ไข)การปรับปรุงพันธุ์งาดำเพื่อผลผลิตสูงชุดปี 2556 การเปรียบเทียบเบื้องต้น

42(7)การปรับปรุงพันธุ์งาดำเพื่อผลผลิตสูงชุดปี 2556 การเปรียบเทียบเบื้องต้น

43(2.1)ศึกษาต้นทุนและวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของทานตะวันชนิดสกัดน้ำมัน

53(2)คัดเลือกเบญจมาศตัดดอกชุด 1-2557

53(3)คัดเลือกเบญจมาศกระถางชุด 1-2557

56(1.1.1)รวบรวมและคัดเลือกกล้วยไม้สกุล Dendrobium ที่มีศักยภาพเป็นสมุนไพร (57-59 )

64(3)การเปรียบเทียบจำนวนข้อที่เหมาะสมร่วมกับการใช้ฮอร์โมนเร่งรากสำหรับการผลิตหัวพันธุ์

67(1.1)การประเมินพันธุ์และการใช้ประโยชน์ของเผือก

67(1.2)การทดสอบพันธุ์เผือกเพื่อบริโภคสด

67(2.1)การจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตเผือกให้มีคุณภาพ

69(1)การทดสอบประสิทธิภาพของสารละลายใบยาสูบต่อการควบคุมเพลี้ยไฟพริกในแปลงเกษตรกร

74(1)การทดสอบพันธุ์ผักกาดขาวปลีลูกผสม

74(2)การคัดเลือกและทดสอบพันธุ์ผักกาดขาวปลีพันธุ์ผสมเปิด

76(1.1)ศึกษาและพัฒนาเครื่องแกะและคัดขนาดกลีบกระเทียมพันธุ์

76(2.1)ศึกษาและพัฒนาเครื่องปลูกกระเทียม

78(2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตหัวพันธุ์หอมแดงพันธุ์ศรีสะเกษปลอดโรคใบแห้งในพื้นที่จังหวัดลำพูน

80(1.1)การคัดเลือกและประเมินพันธุ์ถั่วลันเตาบริโภคฝักสดภาคเหนือตอนบน

84(3)ชนิดสารเคลือบร่วมกับถุงบรรจุภัณฑ์ต่อการควบคุมการเกิดอาการไส้สีน้ำตาลในสับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง

91(1)วิจัยพัฒนาต้นแบบเครื่องคัดแยกคุณภาพผลมังคุดโดยค่าความถ่วงจำเพาะของสารละลายแบบต่อเนื่องด้วยอุปกรณ์ควบคุมอัลตร้าโซนิค

95(1)อิทธิพลของจำนวนกระปุกต่อทะลายที่มีผลต่อคุณภาพของสละ

99(1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องมือคว้านเมล็ดลิ้นจี่

100(1)การทดสอบและพัฒนาเครื่องอบผลไม้สำหรับอบแห้งเนื้อลิ้นจี่และผลไม้ตามฤดูกาล

104(1.1)วิธีการตัดแต่งเพื่อควบคุมขนาดและทรงพุ่มต้นส้มโอในสภาพสวนเก่า

105(1)(ฉบับแก้ไข)ศึกษาอัตราการให้แคลเซียมและโบรอนที่เหมาะสมต่อคุณภาพ และผลผลิตส้มโอพันธุ์ทองดีที่ปลูกในเขตจังหวัดเชียงราย

105(3)ทดสอบประสิทธิภาพของราไตรโคเดอร์มาร่วมกับวิธีเขตกรรมเพื่อควบคุมโรคจุดดำในสวนส้มโอ

107(1.1)การคัดเลือกพันธุ์ส้มลูกผสมเบื้องต้นโดยวิธีวิเคราะห์โปรตีนที่เกิดจาก Peroxidase activity ในใบ

107(2.1)อิทธิพลของต้นตอส้มพันธุ์ต่างๆที่ส่งผลให้เกิดความทนทานต่อโรคกรีนนิ่งในยอดพันธุ์ส้มเขียวหวานและสายน้ำผึ้ง (ปี 58– 63 6 ปี)

119(1)การวิจัยและพัฒนาการผลิตตัวนำส่งสารที่กักเก็บสารสกัดขมิ้นชันเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง

119(2)การผลิตสารสกัดขมิ้นชันผงโดยเทคนิคเอนแคปซูลเลชั่นเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร

125(1.1)การรวบรวมพันธุ์กระชาย

139(1.1)ศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเครื่องสำอางจากของเหลวในมะพร้าวกะทิ

142(1.5)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสมชั่วที่ 1 ชุดที่ 3-1

142(1.6)การเปรียบเทียบสายพันธุ์กาแฟอะราบิกาที่นำเข้าจากประเทศออสเตรเลีย

142(3.1)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาจากเมล็ด Peaberry

147(1.2)เปรียบเทียบพันธุ์ฝรั่งลูกผสมเนื้อสีขาวสายพันธุ์คัดเพื่อการบริโภคสด

147(1.3)เปรียบเทียบพันธุ์ฝรั่งลูกผสมเนื้อสีแดงสายพันธุ์คัดที่มีปริมาณแอนโทไซยานินสูงเพื่อบริโภคสด

155(1.1.1)การศึกษาสถานการณ์เทคโนโลยีการผลิตถั่วเขียวผิวมันและถั่วเขียวผิวดำ เขตภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางในภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.1.2)ศึกษาสถานการณ์การระบาดของแมลงศัตรูถั่วเขียวผิวมันและถั่วเขียวผิวดำเขตภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางในภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.1.3)ศึกษาสถานการณ์การระบาดของโรคถั่วเขียวผิวมันและถั่วเขียวผิวดำเขตภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางในภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.1.4)ศึกษาการแพร่ระบาดของวัชพืชในถั่วเขียวผิวมันและผิวดำเขตภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลางในภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.1.5)การศึกษาคุณภาพผลผลิตของถั่วเขียวผิวมัน และผิวดำเขตภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลางในภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.2.1)การศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการระบาดของแมลงศัตรูถั่วเหลืองในแหล่งปลูกถั่วเหลืองภาคเหนือตอนบน

155(1.2.2)(ฉบับแก้ไข2)การศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการระบาดของชนิดและปริมาณวัชพืชในแหล่งปลูกถั่วเหลืองภาคเหนือตอนบน

155(1.2.3)การศึกษาประเมินวัฏจักรชีวิตของการผลิตถั่วเหลือง และพืชไร่อื่นๆในระบบการผลิตพืชไร่เขตภาคเหนือตอนบน

155(1.3.1)การศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการระบาดของแมลงศัตรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในแหล่งปลูกที่สำคัญ

155(1.3.2)(ฉบับแก้ไข2)การศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการระบาดของโรคข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในแหล่งปลูกที่สำคัญ

155(1.4.1)ศึกษาเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดหวานในไร่เกษตรกรเขตภาคเหนือและภาคตะวันตกในภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.4.2)ศึกษาสถานการณ์การระบาดของแมลงศัตรูข้าวโพดหวานในไร่เกษตรกรเขตภาคเหนือและภาคตะวันตกในภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.4.3)ศึกษาสถานการณ์การระบาดของโรคข้าวโพดหวานในเขตภาคเหนือและภาคตะวันตกในภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.4.4)ศึกษาการแพร่ระบาดของวัชพืชในข้าวโพดหวานในไร่เกษตรกรเขตภาคเหนือและภาคตะวันตกในภาวการณ์เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.4.5)การศึกษาคุณภาพผลผลิตของข้าวโพดหวานในเขตภาคเหนือ และภาคตะวันตกในภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

155(1.5.1)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาสถานการณ์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อเทคโนโลยีการผลิตงาในแหล่งปลูกที่สำคัญ

155(1.5.2)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาสถานการณ์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการระบาดของแมลงศัตรูงาที่สำคัญ

155(1.5.3)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาสถานการณ์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการระบาดของโรคในแหล่งปลูกงาที่สำคัญ

155(1.5.4)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาสถานการณ์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการระบาดของวัชพืชในแหล่งปลูกงาที่สำคัญ

156(1.1)การศึกษาการตัดการปุ๋ยและระบบปลุกพืชอย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินในระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ.นครสวรรค์

156(1.2)ศึกษาการจัดการดินและปุ๋ยอย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินในระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ. ลพบุรี

156(1.3)ศึกษาวิธีการจัดการปุ๋ยและน้ำอย่างเหมาะสมเพื่อเพิ่มการกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินในระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

156(1.4)ศึกษาการจัดการปุ๋ยไนโตรเจนต่อการกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ต่างๆ

156(2.2)ศึกษาวิธีการจัดการปุ๋ยร่วมกับการให้น้ำอย่างเหมาะสมต่อการกักเก็บคาร์บอนไว้ในในระบบการผลิตอ้อย

156(3.1)(ฉบับแก้ไข)การจัดการปุ๋ยและเศษซากพืชอย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินในการผลิตมันสำปะหลัง จังหวัดระยอง

156(4.1)ศึกษาการจัดการปุ๋ยต่อการกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินในระบบการผลิตถั่วเหลืองในสภาพนา

156(4.2)ศึกษาการจัดการปุ๋ยต่อการกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินในระบบการผลิตถั่วเหลืองในสภาพไร่

157(3.1)การศึกษาและสำรวจการออกดอกและติดผลของมะม่วงในจังหวัดขอนแก่น

157(3.2)(ฉบับแก้ไข2)การศึกษาและสำรวจการออกดอกและติดผลของลิ้นจี่ในจังหวัดนครพนม

157(4.1)การจัดทำระบบฐานข้อมูลดิน

158(1.1)การศึกษาระบบการผลิตพืชกับค่าการปล่อยไนตรัสอ๊อกไซด์ในพื้นที่ปลูกไม้ผลเป็นหลักภาคตะวันออก

158(1.2)การศึกษาระบบการผลิตพืชกับค่าการปล่อยไนตรัสอ๊อกไซด์ในพื้นที่ปลูกพืชไร่เป็นหลักภาคตะวันออก

167(1.2)ทดสอบระบบการผลิตข้าว-ถั่วลิสง จังหวัดลำปาง

168(1)การพัฒนาเทคโนโลยีการปรับปรุงบำรุงดินในการผลิตลำไยอินทรีย์ในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ และลำพูน

172(1.1)ปัจจัยของสภาพแวดล้อมต่อการติดดอก ติดผล และ ผลผลิตของลองกอง

172(2.1)(ฉบับแก้ไข2)ทดสอบเทคโนโลยีการควบคุมการป้องกันกำจัดหนอนชอนเปลือกลองกองโดยชีววิธีในพื้นที่จังหวัดสุโขทัยและจังหวัดอุตรดิตถ์

173(1)ศึกษาระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตมะกรูดเชิงพาณิชย์

174(1.1)การศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ของการผลิตทุเรียนพันธุ์หลงลับแลและพันธุ์หลินลับแล

174(1.2)การจัดทำคู่มือการผลิตและมาตรฐานคุณภาพของทุเรียนพันธุ์หลงลับแลและพันธุ์หลินลับแล

174(2.1)การศึกษาสภาพภูมิศาสตร์และสภาพแวดล้อมของการผลิตลางสาดอุตรดิตถ์

174(2.2)การจัดทำคู่มือการผลิตและมาตรฐานคุณภาพของลางสาดอุตรดิตถ์

174(3.1)การศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ของการผลิตสับปะรดห้วยมุ่น

174(3.2)การจัดทำคู่มือการผลิตและมาตรฐานคุณภาพของสับปะรดห้วยมุ่น

175(3)ศึกษาระยะการเข้าทำลายของแมลงวันผลไม้เจาะผลละมุด

176(2.1)ศึกษาชนิดของวัสดุเพาะและท่อนพันธุ์ที่เหมาะสมในการผลิตชาโยเต้

214(10)ทดสอบระยะเวลาการเก็บรักษาต่อปริมาณไนเตรทตกค้างและลักษณะทางกายภาพของคะน้าภายหลังการเก็บเกี่ยว

214(11)ทดสอบระยะเวลาการเก็บรักษาต่อปริมาณไนเตรทตกค้างและลักษณะทางกายภาพของผักกาดหอมภายหลังการเก็บเกี่ยว

216(1)1)(ฉบับแก้ไข)ศึกษาเทคโนโลยีการผลิตมังคุดต้นฤดูของเกษตรกรในพื้นที่ภาคตะวันออก

216(1)2)(ฉบับแก้ไข)ศึกษาเทคโนโลยีการผลิตเงาะต้นฤดูของเกษตรกรในพื้นที่ภาคตะวันออก

236(1.1.1)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานในจังหวัดตรัง

236(1.1.2)การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานจังหวัดสตูล

236(1.1.3)(ฉบับแก้ไข)การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานจังหวัดสงขลา

236(1.1.4)การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานจังหวัดนราธิวาส

236(2.1.1)(ฉบับแก้ไข2)การทดสอบพันธุ์ถั่วลิสงในจังหวัดพัทลุงและจังหวัดตรัง

236(2.1.2)(ฉบับแก้ไข2)การทดสอบพันธุ์ถั่วลิสงจังหวัดสงขลา

236(2.1.2)การทดสอบพันธุ์ถั่วลิสงจังหวัดสงขลา

236(2.1.3)(ฉบับแก้ไข2)การทดสอบการใช้ไรโซเบียมเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพถั่วลิสงจังหวัดสงขลา

236(3.1.1)(ฉบับแก้ไข2)การทดสอบพันธุ์ถั่วหรั่งในจังหวัดพัทลุง

236(3.1.2)การทดสอบพันธุ์ถั่วหรั่งในจังหวัดปัตตานี

238(1.1.3)ทดสอบช่วงเวลาห่อผลที่เหมาะสมในการผลิตลองกองคุณภาพจังหวัดสงขลา

238(1.1.4)(ฉบับแก้ไข)ทดสอบช่วงเวลาห่อผลที่เหมาะสมในการผลิตลองกองคุณภาพจังหวัดสตูล

238(1.1.4)(ฉบับแก้ไข2)ทดสอบช่วงเวลาห่อผลที่เหมาะสมในการผลิตลองกองคุณภาพจังหวัดสตูล

238(2.1.1)ศึกษาการชักนำการออกดอกของลองกองในจังหวัดนราธิวาส

238(2.1.2)ศึกษาการชักนำการออกดอกของลองกองในจังหวัดยะลา

238(2.1.3)ศึกษาการชักนำการออกดอกของลองกองในจังหวัดปัตตานี

239(2.2)ทดสอบพันธุ์ดาหลาที่เหมาะสมในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

240(1.1.1)ทดสอบกาแฟโรบัสตาพันธุ์ที่เหมาะสมในพื้นที่จังหวัดสตูล

240(2.1.1)(ฉบับแก้ไข2)ทดสอบเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยและการตัดแต่งกาแฟโรบัสต้าที่เหมาะสมในพื้นที่จังหวัดสตูล

241(1.1.1)(ฉบับแก้ไข2)การปลูกฟื้นฟูและประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมถั่วหรั่งจาก IITA

241(1.1.3)(ฉบับแก้ไข2)การปลูกคัดเลือกและสร้างความคงตัวทางพันธุกรรมถั่วหรั่งลูกผสมชุดปี 51– 52

241(2.2.2)การทดสอบพันธุ์ถั่วหรั่งอายุปานกลางในไร่เกษตรกร

241(2.3.3)การเปรียบเทียบพันธุ์ในท้องถิ่นสายพันธุ์ถั่วหรั่งจากการผสมพันธุ์ชุดที่ 1

241(2.4.1)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์ถั่วหรั่งอายุสั้น

241(2.4.2)การเปรียบเทียบพันธุ์ในท้องถิ่นถั่วหรั่งพันธุ์อายุสั้น

247(4.3)การศึกษาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการแช่สารสกัดเส้นใยทางจาก

253(3.1)ศักยภาพของชนิดพืชปลูกร่วมต่อการดึงดูดแมลงศัตรูธรรมชาติในการผลิตแตงกวาระบบเกษตรอินทรีย์

255(2.1)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของผลส้มสดนำเข้าจากสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์

255(2.2)(ฉบับแก้ไข)การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของหัวพันธุ์มันฝรั่งจากสาธารณรัฐอาร์เจนตินา

255(3.1)การประเมินมาตรการสุขอนามัยพืชในการนำเข้าผลแอปเปิลสดจากเครือรัฐออสเตรเลีย

262(1.1)พัฒนาวิธีวิเคราะห์ และตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์โพแทสเซียมที่ละลายน้ำในปุ๋ยเคมี โดยเทคนิคเฟลมโฟโตเมทรี

262(1.2)พัฒนาวิธีวิเคราะห์ และตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์แอมโมเนียมไนโตรเจนในปุ๋ยเคมี โดยใช้แมกนีเซียมออกไซด์

262(1.4)พัฒนาวิธีวิเคราะห์ความชื้นในปุ๋ยเคมีชนิดต่างๆ

262(1.8)พัฒนาวิธีวิเคราะห์ และตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ฟอสฟอรัสทั้งหมดในปุ๋ยเคมีโดยเทคนิคอินดักทีฟลีคอปเปิลพลาสมาออปติคอลอิมิสชันสเปกโตรเมทรี

262(2.2)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์อินทรียวัตถุ ในดินโดยเทคนิคการหาค่าสูญเสียน้ำหนักในการเผาไหม้

264(1.21)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 10 ชนิด ในดินโดยใช้เครื่อง LC-MS MS ของห้องปฏิบัติการ สวพ.3

264(3.7)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่มออร์แกโนฟอสฟอรัส ในพริกโดยใช้เครื่อง LC- MS MS ของห้องปฏิบัติการ สวพ.3

265(1.1)วิจัยประสิทธิภาพของสารสกัดจากน้อยหน่าในการควบคุมหนอนใยผัก

265(1.2)วิจัยหากลุ่มสารสำคัญในสารสกัดน้อยหน่า ที่มีฤทธิ์ในการควบคุมหนอนใยผัก

265(2.1)วิจัยประสิทธิภาพของสารสกัดจากแมงลักป่าในการควบคุมวัชพืช

265(2.2)วิจัยหากลุ่มสารสำคัญในสารสกัดจากแมงลักป่าในการควบคุมวัชพืช

265(3.1)วิจัยการใช้เทคนิคทีแอลซีสมรรถนะสูง (HPTLC) ในการทำเอกลักษณ์โครมาโทกราฟีของสารสำคัญในสะเดา

265(4.1)ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารและปริมาณสารอะซาดิแรคตินในสะเดา

275(2.1)การศึกษาผลผลิตเห็ดต่งฝนที่เพาะในแปลงเกษตรกรจังหวัดแพร่และเชียงใหม่

275(3.1)การศึกษาผลผลิตเห็ดถั่วฝรั่งที่เพาะในแปลงเกษตรกรจังหวัดแพร่และเชียงใหม่

276(1)การทดสอบและพัฒนาเครื่องหั่นย่อยเปลือกฝักข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อการเพาะเห็ดในถุงพลาสติก

276(2)การศึกษาและพัฒนาเครื่องอัดวัสดุเพาะเห็ดจากเศษเปลือกฝักข้าวโพดแบบก้อนยาว

279(1.2)ศึกษาการควบคุมการปนเปื้อนเชื้อรา Curvularia sp. สาเหตุโรคดอกจุดสนิมกล้วยไม้สกุลหวายหลังการเก็บเกี่ยว

279(2.3)การควบคุมการปนเปื้อนของเชื้อราและสารแอฟลาทอกซิน บี1 ในผลผลิตพริกไทย

280(3.1)บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการรักษาคุณภาพและลดการเกิดเชื้อราสำหรับพริกขี้หนูหลังการเก็บเกี่ยว

การผสมพันธุ์ถั่วหรั่ง ปี 59 (ฉบับแก้ไข)

ทดสอบเทคโนโลยีการใช้โพแทสเซียมคลอเรตชักนำให้ออกดอกนอกฤดู (ปี 2559-61)

เรื่องเต็มหอมแดงคุณภาพสู่สากล