ปี 2558

1(1.1)การผสมพันธุ์ยางเพื่อให้ได้พันธุ์ยางที่ต้านทานโรคใบร่วงไฟทอฟธอรา

1(1.2)การผสมพันธุ์ยางเพื่อให้ได้พันธุ์ยางที่ต้านทานโรคใบจุดก้างปลา

1(1.36)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลาย RRI-CH-37-1-4

1(2.1)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้น 300-2_สุพินยา จันทร์มี

1(2.2)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้น 400-1

1(2.3)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-35-1-2_หทัยกาญจน์ สิทธา

1(2.4)การเปรียบเทียบพันธุ์ขั้นต้นสายพันธุ์ยางลูกผสมชุด 400 RRIT-CH-37-1-2

1(2.5)การเปรียบเทียบพันธุ์ขั้นต้นสายพันธุ์ยางลูกผสมชุด 400 RRIT-CH-38-1-2

1(2.6)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-38-1-2

1(2.7)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-39-1-2

1(2.9)การเปรียบเทียบพันธุ์ขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRICH 41 1 1 ปี 2558 ศวพ.ภูเก็ต

1(2.10)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-42-1-1

1(2.11)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-43-1-1_หทัยกาญจน์ สิทธา

1(2.12)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-44-1-1

1(2.13)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-45-2-1

1(2.14)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้น RRI-CH-45-3-1

1(2.21)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-47-1-2

1(2.22)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยางจากบราซิล((BZ-CH-48-1-2)

1(2.23)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-45-4-1

1(2.24)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นสายพันธุ์ยาง RRI-CH-51-1-1

1(2.25)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้น RRI-CH-46-1-2

1(3.2)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลาย 300-1-2

1(3.3)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลาย RRI-CH-35

1(3.4)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลายชุด RRI-CH-36-1-1 ในพื้นที่ลาดชัน

1(3.5)การเปรียบเทียบพันธุ์ขั้นปลายสายพันธุ์ยางลูกผสมชุด 400 RRIT-CH-35-2-4

1(3.6)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลายสายพันธุ์ยาง RRI-CH-35-3-6_หทัยกาญจน์ สิทธา

1(3.7)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลาย RRI-CH-36-2-1

1(3.9)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลายพันธุ์ยางที่นำเข้าจากต่างประเทศปี 2542 ในภาคใต้

1(3.10)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลาย RRI-CH-39 1 3

1(3.12)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลายRRI-CH-36-2-5

1(3.13)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลาย RRI-CH-37-1-3

1(3.14)การเปรียบเทียบพันธ์ยางขั้นปลาย RRI-CH-38-1-1

1(3.15)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลายสายพันธุ์ยาง RRI-CH 43-1-2_สุพินยา จันทร์มี

1(3.17)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลายสายพันธุ์ยาง RRI-CH 38-1-2_สุพินยา จันทร์มี

1(3.18) การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลาย RRI-CH-40-1-1

1(3.19)การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลาย RRI-CH-40-1-3

1(4.1)การหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพันธุ์ยางใหม่ที่ให้ผลผลิตเนื้อไม้สูง นิภาภรณ์ ชูสีนวน

1(5.1)สำรวจและประเมินระดับความต้านทานโรคที่สำคัญทางเศรษฐกิจในพื้นที่ ภาคใต้ตอนบน

2.1.2 การศึกษาระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานในพื้นที่เขตชลประทานจังหวัดพิจิตร

3(1.1)การผสมพันธุ์อ้อยชุด 2557 เพื่อปรับปรุงพันธุ์ให้มีผลผลิตสูงและไว้ตอได้ดี

3(1.3)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร โคลนอ้อยชุด 2547 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

3(1.4.1)ศึกษาลักษณะทางการเกษตรของอ้อยโคลนดีเด่น การเติบโตและการสะสมน้ำตาล

3(1.4.2)การศึกษาลักษณะทางการเกษตรของอ้อยโคลนดีเด่น 2) การตอบสนองต่อระยะปลูก

3(1.4.3)การศึกษาลักษณะทางการเกษตรของอ้อยโคลนดีเด่น 3) การตอบสนองต่อปุ๋ยเคมีและอินทรีย์

3(1.7)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร โคลนอ้อยชุด 2548 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

3(1.10)การเปรียบเทียบมาตรฐาน โคลนอ้อยชุด 2549 เพื่อผลผลิตสูงและไว้ตอได้ดี

3(1.12)การเปรียบเทียบเบื้องต้น โคลนอ้อยชุด 2550 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

3(1.13)การเปรียบเทียบมาตรฐาน โคลนอ้อยชุด 2550 เพื่อผลผลิตสูงและไว้ตอได้ดี

3(1.15)การเปรียบเทียบเบื้องต้น โคลนอ้อยชุด 2551 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

3(1.16)การคัดเลือกโคลนอ้อยชุด 2552 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

3(1.17)การคัดเลือกโคลนอ้อยชุด 2553 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

3(1.18)การคัดเลือกโคลนอ้อยชุด 2554 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

3(1.19)การคัดเลือกโคลนอ้อยชุด 2555 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

3(1.20)การคัดเลือกโคลนอ้อยชุด 2556 เพื่อผลผลิตสูง และไว้ตอได้ดี

3(1.21)การคัดเลือกโคลนอ้อยเพื่อทนทานต่อความแห้งแล้ง

3(1.22)การตอบสนองของพันธุ์อ้อยต่อสภาพน้ำท่วมขัง

3(1.23)การทดสอบปฏิกิริยาของโคลนอ้อยต่อโรคแส้ดำ

3(1.25)การเปรียบเทียบมาตรฐาน โคลนอ้อยชุด 2547 เพื่อชีวมวลสูง

3(1.26)ศึกษาการใช้ประโยชน์จากอ้อยพลังงานและผลพลอยได้เพื่อการผลิตเอทานอลและอาหารสัตว์

3(2.1)การจัดการแปลงพันธุ์จากต้นกล้าชำข้อที่เหมาะสมสำหรับเป็นท่อนพันธุ์ปลูกในฤดูข้ามแล้งและฤดูฝน

3(2.2)ศึกษาการติดเชื้อสาเหตุโรคใบขาวของพันธุ์อ้อยปลอดโรคในสภาพแปลงผลิตท่อนพันธุ์

3(3.1)ศึกษาจำแนกลักษณะทางสัณฐานวิทยา และคุณสมบัติทางเคมีของเชื้อพันธุกรรมอ้อย

4(1.1.2)การคัดเลือกครั้งที่ 2 อ้อยชุดปี 2556

4(1.1.3)เปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์อ้อยในเขตชลประทาน อ้อยปี55

4(1.1.4)เปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์อ้อยในเขตชลประทาน อ้อยปี54

4(1.1.5)เปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์อ้อยในเขตชลประทาน อ้อยปี53

4(1.1.6)เปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์อ้อยชุดปี 2550

4(1.1.7)เปรียบเทียบในไร่เกษตรกร อ้อยชุดปี 2550

4(1.1.9)ศึกษาปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง อ้อยชุดปี 54-55

4(1.1.10)ศึกษาปฏิกิริยาต่อโรคแส้ดำอ้อยชุดปี 2553

4(1.1.12)ศึกษาผลตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยเคมี อ้อยชุดปี 2550

4(1.1.11)ศึกษาปฏิกิริยาต่อโรคใบด่างอ้อยชุดปี 2553

4(1.2.1)การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อย ชุดปี 2551 เขตน้ำฝน อ้อยปลูก ตอ 1 ตอ 2

4(1.2.3)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์อ้อยชุดปี 2553 เขตน้ำฝน อ้อยปลูก ตอ1

4(1.2.2)การเปรียบเทียบเบื้องต้นโคลนอ้อยชุดปี 2553 เขตน้ำฝน; อ้อยปลูก ตอ 1

4(1.2.4)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรโคลนอ้อย ชุดปี 2551 เขตน้ำฝน อ้อยปลูก และตอ1

4(1.2.5)การคัดเลือกครั้งที่ 2 โคลนอ้อยชุดปี 2556 เขตน้ำฝน

4(1.2.6)ศึกษาประชากรที่เหมาะสมของอ้อยโคลนดีเด่น

4(1.2.7)ศึกษาผลตอบสนองต่อปุ๋ยเคมีของอ้อยโคลนดีเด่น ดินเหนียว

4(1.2.8)ศึกษาผลตอบสนองต่อปุ๋ยเคมีของอ้อยโคลนดีเด่น ดินทราย

4(1.2.9)ปฏิกิริยาของอ้อยโคลนดีเด่นต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงในเขตน้ำฝน

4(1.2.10)ปฏิกิริยาของอ้อยโคลนดีเด่นต่อโรคแส้ดำในเขตน้ำฝน

4(1.2.11)การเปรียบเทียบเบื้องต้น โคลนอ้อยชุดปี 2553 (1) เขตน้ำฝน อ้อยตอ1 (เก็บเกี่ยว)

4(1.2.12)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์อ้อยชุดปี 2553 เขตน้ำฝน อ้อยปลูก

4(1.2.13) ศึกษาปฏิกิริยาอ้อยต่อโรคแส้ดำ ชุดปี 2553

5(1.1)การเปรียบเทียบอ้อยพันธุ์เบา อายุเก็บเกี่ยวสั้น ในไร่เกษตรกรอ้อยชุดปี 2548 อ้อยตอ 2 (เก็บเกี่ยว)

5(2.1)การศึกษาอัตราปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับพันธุ์อ้อยเพื่อการผลิตเอทานอล

6(1.2) การเปรียบเทียบมาตรฐานอ้อยคั้นน้ำ ชุดปี 2553 ตอ 2

6(1.3) การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร อ้อยคั้นน้ำ ชุดปี 2553 ตอ 1

6(2.1) การศึกษาอัตราปุ๋ยที่เหมาะสมฯ อ้อยคั้นน้ำ ชุดปี 2553

7(1.1.1)อ้อยตอบสนองชุดดินทับกวาง_สมควร คล้องช้าง ปี 53-55

7(1.1.1)อ้อยตอบสนองชุดดินเพชรบุรี_สมควร คล้องช้าง ปี 55-58

7(1.1.2)การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินเหนียว ชุดดินวังไฮ

7(1.1.3)อ้อยชุดดินสันป่าตองแก้ไข

7(1.1.4)(สพ) เรื่องเต็มการทดลองสิ้นสุดชุดดินKsและCt แก้ไขตาม ผชช. แจ

7(1.1.5) การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินร่วน ชุดสีคิ้ว

7(1.1.6)การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินร่วน ชุดดินสตึก

7(1.1.7)การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินทราย ชุดดินน้ำพอง จังหวัดนครสวรรค์

7(1.1.8)การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินทราย ชุดดินน้ำพอง กำบง

7(1.1.9)การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินทราย ชุดดินสัตหีบ และชุดดิน บ้านบึง

7(1.1.10)การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินตื้นชุดดินโพนพิสัย

7(1.1.11)การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินตื้น ชุดดินวังสะพุง ชุดดินมวกเหล็ก

7(1.1.12)การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินด่าง ชุดดินตาคลี ชุดดินสมอทอด

7(1.1.13)การตอบสนองของอ้อยต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินด่าง ชุดดินคล้ายดินสมอทอด

7(1.2.4)จุลินทรีย์ดินเพื่อการผลิตอ้อย_สุปราณี มั่นหมาย

7(2.1.1)ศึกษาวิจัยค่าสัมประสิทธิ์ความต้องการน้ำของอ้อยพันธุ์ใหม่

7(3.1.1)ศึกษาสภาพแวดล้อมของการผลิตอ้อยที่มีรับผลกระทบจากปัจจัยสภาพแวดล้อมที่จำกัด

7(2.1.2)ศึกษาวิจัยความชื้นของดินต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินที่ปลูกอ้อย

7(3.1.3)ความสัมพันธ์ของพื้นที่ใบต่อการเจริญเติบโตและการสะสมน้ำตาลของอ้อยข้ามแล้ง

7(3.1.4)การเปรียบเทียบวิธีการให้น้ำอ้อยด้วยระบบน้ำหยดและการใส่ปุ๋ยเคมีเพิ่มผลผลิตอ้อยในสภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้ง

7(3.1.5)การศึกษาผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตอ้อยในสภาวะน้ำท่วมขังในช่วงอายุต่างกัน

8(1.1)ทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชของสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก (pre-emergence) ในอ้อยปลูกใหม่

8(1.2)ทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชของสารกำจัดวัชประเภทหลังงอก(post-emergence) ในอ้อยปลูกใหม่และอ้อยตอ

8(1.3)ศึกษาการจัดการวัชพืชประเภทเถาเลื้อยในอ้อย

8(1.6)ศึกษาสถานการณ์การระบาดและการจัดการปัญหาวัชพืชต้านทานสารกำจัดวัชพืชในอ้อย

8(2.2.1)การศึกษาความสูญเสียจากการทำลายของแมลงนูนหลวงต่อผลผลิตอ้อย

8(2.2.2)(แก้ไข)การสำรวจความสูญเสียจากการทำลายของแมลงนูนหลวงในไร่อ้อย

8(3.1)การศึกษาการเจริญเติบโตและการอยู่รอดของเพลี้ยจักจั่นอ้อย Matsumuratettix hiroglyphicus Yamatotettix flavovitatus บนอ้อยพันธุ์ต่างๆ

8(3.2)การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีในอ้อยที่ติดเชื้อโรคใบขาว

8(3.3)การจัดการธาตุอาหารเพื่อฟื้นฟูอ้อยที่เป็นโรคใบขาวในสภาพการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและสภาพไร่

8(3.4)การศึกษาวิธีการตรวจวินิจฉัยเชื้อด้วย reverse transcriptase และการหาปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาโรคใบขาวในอ้อยด้วย real time PCR

8(3.5)การศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อไฟโตพลาสมาในเนื้อเยื่ออ้อยด้วย Cryotherapy และสารต้านจุลินทรีย์บางชนิด

8(3.6)ผลของฤดูปลูกต่อการแสดงอาการใบขาวของอ้อยในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

8(3.9)ศึกษาปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาของอ้อยจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกับการแสดงออกของโรคใบขาว ในสภาพแปลงปลูก

8(3.10)ศึกษาผลของการให้น้ำ และปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาในกล้าอ้อยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกับการแสดงออกของโรคใบขาวในสภาพแปลงผลิตท่อนพันธุ์

8(3.11)การตรวจสอบความแตกต่างทางพันธุกรรมของเชื้อไฟโตพลาสมาสาเหตุของโรคในอ้อยในแหล่งระบาดต่างๆ

8(3.12)การตรวจความแตกต่างของเชื้อไฟโตพลาสมาในอ้อยที่เป็นโรคใบขาวด้วยเทคนิค High Resolution Melting (HRM)

9(1.1.3)การทดสอบชุดเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ

9(1.5)การทดสอบชุดเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคุมโรคใบขาวอ้อยในจังหวัดอุดรธานี

9(1.7)การทดสอบชุดเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร

9(1.8)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดเลย

9(1.9)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดสกลนคร

9(1.10)การทดสอบชุดเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคุมโรคใบขาวอ้อยจังหวัดกาฬสินธุ์

9(1.11)การทดสอบชุดเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคุมโรคใบขาวอ้อยจังหวัดขอนแก่น

9(2.1.1)การบูรณาการเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในจังหวัดร้อยเอ็ด

9(2.1.2)การบูรณาการเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในจังหวัดมหาสารคาม

9(2.1.3)การบูรณาการเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในจังหวัดนครราชสีมา

9(2.1.4)(แก้ไข)การบูรณาการเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในจังหวัดบุรีรัมย์

9(2.1.5)การบูรณาการเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในจังหวัดสุรินทร์

9(2.1.6)การบูรณาการเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในจังหวัดอำนาจเจริญ

9(2.1.7)การบูรณาการเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในจังหวัดศรีสะเกษ

9(4.2) การทดสอบพันธุ์อ้อยฯ ปลูก ตอ 1 ตอ2

9(4.3) การทดสอบวิธีการการแก้ปัญหาการเผาใบอ้อยฯ

9(4.4)การบูรณาการเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยจังหวัดสุพรรณบุรี

9(4.5)การบูรณาการเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยจังหวัดอุทัยธานี

9(5.1)การทดสอบพันธุ์และเทคโนโลยีการผลิตอ้อยแบบบูรณการที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคตะวันออก

9(6.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยเพื่อทำน้ำตาลอ้อยในระบบการปลูกพืช จังหวัดเชียงใหม่

9(6.2)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยเพื่อทำน้ำตาลอ้อยในระบบการปลูกพืช จังหวัดแม่ฮ่องสอน

9(6.3)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยเพื่อทำน้ำตาลอ้อยในระบบการปลูกพืช จังหวัดแพร่

9(6.4)เตรียมเรื่องเต็มอ้อย-พะเยา

9(8.1.1)ทดสอบความถูกต้องของระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการผลิตอ้อยตอภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

9(8.2.1)การเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคใบขาวอ้อยจังหวัดนครราชสีมาและขอนแก่น

9(8.2.2)การเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคใบขาวอ้อยจังหวัดมหาสารคาม

9(8.2.3)การเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคใบขาวอ้อยจังหวัดร้อยเอ็ด

10(1)การศึกษาศักยภาพของอ้อยสายพันธุ์ไทยในการได้รับไนโตรเจนจากการตรึง

10(2)การศึกษาลักษณะกลุ่มและปริมาณประชากรของแบคทีเรียตรึงไนโตรเจน

11(1.1.1)เรื่องเต็มกิจกรรมเครื่องผสมปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

11(1.2.1)ทดสอบและพัฒนาเครื่องหยอดปุ๋ยสำหรับปุ๋ยผสม

12(2.1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องปลิดและเก็บใบอ้อยแบบกึ่งอัตโนมัติ

13(1.1.1)การผสมพันธุ์มันสำปะหลัง (ลูกผสมปี 2556-2558)

13(1.1.2)การคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลังปีที่ 1 (ลูกผสมปี 2558)

13(1.1.3)การคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลังปีที่ 2 (ลูกผสมปี 2557)

13(1.2.1)การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังเบื้องต้น พันธุ์มันสำปะหลังลูกผสมปี 2556

13(1.2.2)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์มันสำปะหลัง (ลูกผสมชุดปี 2555)

13(1.2.3)การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังในท้องถิ่น (ลูกผสมปี 2554)

13(1.2.4)การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังในไร่เกษตรกร (ลูกผสมปี 2553)

13(1.3.1)การผสมพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อสร้างสายพันธุ์แท้

13(2.1.1)การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังเบื้องต้น เพื่อเก็บเกี่ยวอายุสั้น(ลูกผสมปี 2556)

13(2.1.2)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์มันสำปะหลัง เพื่อเก็บเกี่ยวอายุสั้น(ลูกผสมปี 2555)

13(2.1.3)การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังในท้องถิ่น เพื่อเก็บเกี่ยวอายุสั้น (ลูกผสมปี 2554)

13(2.1.4)การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังในไร่เกษตรกร เพื่อเก็บเกี่ยวอายุสั้น (ลูกผสมปี 2553)

13(3.1.6)การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อบริโภคหัว การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร

13(3.1.7)รวบรวม และประเมินลักษณะประจำพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อการบริโภค

13(4.1.2)การเปรียบเทียบผลการใช้ค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของพันธุ์ก้าวหน้าชุดที่ 2ในแบบจำลองมันสำปะหลังกับผลจากแปลงทดลอง

13(4.1.3)การใช้แบบจำลองในการประเมินศักยภาพการให้ผลผลิตของมันสำปะหลังพันธุ์ก้าวหน้า ชุดที่ 2

13(4.2.2)การศึกษาศักยภาพของเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในการตรวจสอบพันธุกรรมมันสำปะหลังเพื่อการคัดเลือกพันธุ์

13(4.3.1)การประเมินการเข้าทำลายของแมลงศัตรูที่สำคัญของมันสำปะหลัง(ลูกผสมปี2550-2554 และพันธุ์จากแหล่งเชื้อพันธุกรรม)

13(4.3.4)การศึกษาระดับความต้านทานโรคที่สำคัญของมันสำปะหลัง (ลูกผสมปี 2551-2554 และพันธุ์จากแหล่งเชื้อพันธุกรรม)

13(4.5.1)การศึกษาชิ้นส่วนของพืชในการผลิตเซลล์โซมาติกกับมันพันธุ์ก้าวหน้าและพันธุ์แนะนำ

13(4.5.2)การขยายพันธุ์มันสำปะหลังแบบรวดเร็วโดยเทคนิคโซมาติกเซลล์

13(5.1.1)การศึกษาจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐาน-สรีรวิทยาของเชื้อพันธุ์มันสำปะหลัง

13(5.1.2)การจำแนกและประเมินลักษณะทางคุณภาพของหัวคุณสมบัติทางเคมีฟิสิกส์ของแป้งและคุณภาพของท่อนพันธุ์ในเชื้อพันธุ์มันสำปะหลัง

14(1.1.1)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินทราย ชุดดินน้ำพอง

14(1.1.2)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินทราย ชุดดินสัตหีบ และชุดดินบ้านบึง

14(1.1.3)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินทราย ชุดดินจอมพระ และชุดดินจักราช

14(1.1.4)(แก้ไข)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินทราย ชุดดินอุบล และ ชุดดินขอนแก่น

14(1.2.1)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินร่วน ชุดดินสตึก และชุดดินหนองบอน

14(1.2.2)(แก้ไข)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินร่วน ชุดดินชุมพวงและชุดดินยโสธร

14(1.2.3)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินร่วน ชุดดินห้วยโป่ง และชุดดินพังงา

14(1.2.4)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินร่วน ชุดดินชลบุรี และชุดดินมาบบอน

14(1.3.1)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินตื้น

14(1.3.3)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินตื้น ชุดดินวังสะพุง ชุดดินมวกเหล็ก

14(1.5.1)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินเหนียว 1. ชุดดินโชคชัย ชุดดินปากช่อง

14(1.5.2)การตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารฯ_สมควร คล้องช้าง

14(1.5.3)(แก้ไข)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินเหนียว ชุดดินราชบุรีและเดิมบาง

14(1.5.3)ศึกษาการตอบสนองของมันสำปะหลังต่อการจัดการธาตุอาหารในกลุ่มดินทราย ชุดดินยางตลาด

14(2.1.2)การศึกษาเปรียบเทียบระบบการให้น้ำสำหรับระบบการปลูกมันสำปะหลัง

14(2.1.3)ศึกษาวิจัยค่าสัมประสิทธิ์ความต้องการน้ำของมันสำปะหลัง

14(2.2.5)วัสดุเหลือใช้

14(2.2.10)ผลของไนโตรเจน แคลเซียมและแมกนีเซียมที่มีต่อการผลิตมันสำปะหลังในระบบปลูกพืชที่ต่างกันระยาว

15(1.1.3)(แก้ไข)อนุกรมวิธาน และเขตแพร่กระจายของไรศัตรูมันสำปะหลังในประเทศไทย

15(1.2.2)ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งด้วยวิธีป้ายบริเวณยอดมันสำปะหลัง

15(1.5.1)การใช้แมลงช้างปีกใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) ในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ในสภาพไร่

15(1.6.1)ศึกษาต้นทุนของการป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตรในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

15(1.6.2)ศึกษาต้นทุนของการป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตรในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

15(1.6.3)ศึกษาต้นทุนของการป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตรในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก

15(2.1.1)ศึกษาปฏิกิริยาของพันธุ์มันสำปะหลังที่ได้จากการฉายรังสีต่อเชื้อสาเหตุโรคแอนแทรคโนส

15(3.1)การทดสอบเทคโนโลยีแบบผสมผสานในการกำจัดวัชพืชในมันสำปะหลัง

16(1)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารสำหรับมันสำปะหลังในจังหวัดแพร่

16(1.1.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังแบบประณีตจังหวัดกาฬสินธุ์

16(1.1.2)การทดสอบชุดเทคโนโลยีการผลิตแบบประณีตจังหวัดขอนแก่น

16(1.1.3)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังแบบประณีตจังหวัดชัยภูมิ

16(1.1.4)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังแบบประณีตจังหวัดนครพนม

16(1.1.5)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตแบบประณีตจังหวัดมุกดาหาร

16(1.1.6)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังแบบประณีตจังหวัดเลย

16(1.1.7)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังแบบประณีตจังหวัดสกลนคร

16(1.1.8)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตแบบประณีตจังหวัดหนองบัวลำภู

16(1.1.9)การทดสอบมันสำปะหลังสำหรับเกษตรกรรายย่อยแบบประณีตและยั่งยืนจังหวัดอุดรธานี

16(2)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารสำหรับมันสำปะหลังในจังหวัดเชียงราย

16(3)ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารสำหรับมันสำปะหลังจังหวัดพะเยา

16(3.1.3)การทดสอบเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังโดยการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

16(3.1.4)การทดสอบเทคโนโลยีเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังโดยการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา (โนนสูง)

16(3.1.5)การทดสอบเทคโนโลยีเพิ่มผลผลิตมันปะหลังโดยการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา

16(3.2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังในสภาพดินดานจังหวัดมหาสารคาม

16(4)การทดสอบการจัดการธาตุอาหารมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดลำปาง

16(4.2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการควบคุมและป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังโดยวิธีผสมผสานในพื้นที่เกษตรกรจังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดฉะเชิงเทรา

16(4.2.2)การทดสอบเทคโนโลยีการควบคุมและป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังโดยวิธีผสมผสานในพื้นที่เกษตรกรจังหวัดจันทบุรี จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดปราจีนบุรี

16(4.3.2)การทดสอบชุดเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังในจังหวัดระยอง

16(4.3.3)การทดสอบชุดเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังในจังหวัดชลบุรี

16(4.3.4)การทดสอบชุดเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังในจังหวัดฉะเชิงเทรา

16(4.3.5)การทดสอบชุดเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังในจังหวัดปราจีนบุรี สระแก้ว

16(4.3.6)การทดสอบพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการเพิ่มมูลค่ามันสำปะหลังโดยทำมันเส้นสะอาดในจังหวัดจันทบุรี

16(4.3.7)การทดสอบพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการเพิ่มมูลค่ามันสำปะหลังโดยทำมันเส้นสะอาดในจังหวัดสระแก้ว

16(5.2.2)การทดสอบพันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมต่อสภาพพื้นที่จังหวัดลพบุรีและสระบุรี

16(5.2.6)ทดสอบการใช้วัสดุปรับปรุงดินร่วมกับปุ๋ยเคมีในดินร่วนเหนียวสีแดงต่อการให้ผลผลิตของมันสำปะหลัง เขตจังหวัดลพบุรีและสระบุรี

16(5.2.7)(แก้ไข)ทดสอบเทคโนโลยีการการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังจังหวัดราชบุรี

16(5.2.8)(แก้ไข)ทดสอบเทคโนโลยีการการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังจังหวัดกาญจนบุรี

16(5.2.9)ทดสอบเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังจังหวัดสุพรรณบุรี

16(5.2.10)เรื่องเต็มมันสำปะหลัง-ลพบุรีFinal

16(5.2.12)การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังแบบมีส่วนร่วม

16(6.1.1)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา

16(6.1.2)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี

16(6.1.5)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์

16(6.1.6)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม

16(6.1.8)การทดสอบเทคโนโลยีเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น

16(6.1.9)การทดสอบเทคโนโลยีเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์

16(6.1.10)การทดสอบเทคโนโลยีเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี

16(6.1.11)การทดสอบเทคโนโลยีเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ

16(6.1.12)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดเลย

16(6.2.1)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี

16(6.2.2)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี

16(6.2.3)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา

16(6.3.2)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดแพร่

16(6.3.3)การทดสอบเครื่องขุดมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดเชียงราย

16(7.1.2)การทดสอบเทคโนโลยีแบบบูรณาการเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชร

16(7.1.1)การทดสอบเทคโนโลยีแบบบูรณาการเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

16(8.1.1)การทดสอบพันธุ์มันสำปะหลังที่ให้ผลผลิตสูงในพื้นที่จังหวัดแพร่

16(8.1.2)การทดสอบพันธุ์มันสำปะหลังที่ให้ผลผลิตสูงในพื้นที่จังหวัดเชียงราย

16(8.1.3)การทดสอบพันธุ์มันสำปะหลังที่ให้ผลผลิตสูงในพื้นที่จังหวัดพะเยา

16(8.1.4)การทดสอบพันธุ์มันสำปะหลังที่ให้ผลผลิตสูงในพื้นที่จังหวัดลำปาง

16(9.1.3)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังหลังนาในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี

16(9.1.4)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังหลังนาในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ

16(9.1.5)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังหลังนาในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา

16(9.1.6)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังหลังนาในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม

16(9.1.8)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังหลังนาในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์

16(9.1.9)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังหลังนาในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์

17(1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องกำจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยในไร่มันสำปะหลังแบบพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์

17(2.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องมือกำจัดวัชพืชพร้อมยกร่องกลบปุ๋ยในร่องมันสำปะหลังแบบเดินตาม

18(2.1)วิจัยและพัฒนาการทำความสะอาดหัวมันสำปะหลัง และเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรสำหรับทำมันเส้น

19(1.1.1)ออกแบบและพัฒนาเครื่องปลิดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้า

19(2.1.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องมือขนย้ายหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก

20(1.1)(งดเผยแพร่)วิจัยและพัฒนาเครื่องสับหัวมันสำปะหลังให้เป็นแบบเต๋า

20(2.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องอบแห้งมันเส้นแบบโรตารี่ขนาดระดับชุมชน

21(1)การศึกษาและออกแบบเครื่องลดความชื้นกากมันสำปะหลังแบบลูกกลิ้งคู่

22(1.1)การทดสอบและพัฒนาเครื่องปลูกมันสำปะหลังแบบพ่วงท้าย รถแทรกเตอร์ในสภาพพื้นที่เพาะปลูกต่างๆ

22(1.1)การทดสอบและพัฒนาเครื่องปลูกมันสำปะหลังแบบพ่วงท้าย รถแทรกเตอร์ในสภาพพื้นที่เพาะปลูกต่างๆ

24(1.1)การรวบรวมเชื้อพันธุกรรมของพ่อและแม่พันธุ์ปาล์มน้ำมัน

24(1.2)การเปรียบเทียบคู่ผสมปาล์มน้ำมันเพื่อคัดพันธุ์ลูกผสม

24(1.3)การศึกษาการเพิ่มจำนวนพ่อแม่พันธุ์และคัดเลือกพันธุ์ที่ดีเด่นเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์

24(1.4)การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์โดยวิธีอินเตอร์ครอสซิ่ง

24(1.5)วิจัยพันธุ์ปาล์มน้ำมัน Elaeis oleifera

24(1.6)การทดสอบพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมที่มีศักยภาพในการให้ผลผลิตสูงของโครงการปรับปรุงพันธุ์รอบที่ 2

24(1.7)การคัดเลือกแม่และพ่อพันธุ์ปาล์มน้ำมันที่มีศักยภาพในการให้ผลผลิตลูกผสมเทเนอราที่ทนต่อสภาพหนาวและแล้ง

24(1.9)การศึกษาศักยภาพปาล์มน้ำมันลูกผสมพันธุ์ต่างประเทศที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและลูกผสมข้ามชนิดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

24(1.10)การศึกษาศักยภาพพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและเมล็ดพันธุ์compact palm ของเอกชน

24(1.11)การทดสอบพันธุ์ปาล์มน้ำมันแนะนำและพันธุ์เอกชน

24(2.1)การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อปาล์มน้ำมันลูกผสมที่ได้จากการผสมข้ามสปีชีส์

24(2.3)ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มออกซินต่อการชักนำการเกิดและการ พัฒนาแคลลัสปาล์มน้ำมันด้วยเทคนิคเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

24(2.4)การศึกษาพันธุกรรมของเชื้อพันธุ์ปาล์มน้ำมันในระดับดีเอ็นเอ

24(2.4)ตาราง

24(3.1)การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานีในภาคใต้

24(3.2)การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานีในภาคกลาง

24(3.3)การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานีในภาคตะวันออก

24(3.4)การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานีในภาคเหนือ

24(3.5)การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

25(1.1)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมันลูกผสมโดยการจัดการธาตุอาหาร

25(1.2)การศึกษาปริมาณการให้น้ำร่วมกับปุ๋ยเคมีของปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานี 7

25(1.4)การใช้ปุ๋ยชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมัน

25(1.6)การวิจัยและพัฒนาระบบฐานข้อมูลดินเพื่อการสร้างศักยภาพในการผลิต

25(1.6)การวิจัยและพัฒนาระบบฐานข้อมูลดินเพื่อการสร้างศักยภาพในการผลิตของดินในแหล่งปลูกปาล์มน้ำมัน

25(1.7)เทคโนโลยีการจัดการน้ำในปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานีเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ

25(1.8)เทคโนโลยีการจัดการน้ำในปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานีเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

25(1.9)ศึกษาเทคนิคการให้ธาตุอาหารทางลำต้นปาล์มน้ำมันทดแทนการให้ปุ๋ยเคมีทางดิน

25(1.10)การศึกษาเทคโนโลยีการให้น้ำและปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกปาล์มน้ำมันในจังหวัดยโสธร

25(2.1)การควบคุมโรคลำต้นเน่าของปาล์มน้ำมันโดยชีววิธี

25(4.1)การทดสอบพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานี7 ในแปลงเกษตรกรในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

25(4.2)ทดสอบการให้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและใบปาล์มน้ำมันของกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

27(1.1.1)การศึกษาข้อมูลพื้นฐานการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานี

30(1.1)การปรับปรุงประชากรข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อายุยาวแบบหมุนเวียนสลับ

30(1.2)ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดลูกผสมอายุยาวทนทานแล้ง (สุริพัฒน์)

30(1.6)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุยาวพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง

30(1.7)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้งร่วมกับภาครัฐและเอกชน

30(2.1)การปรับปรุงประชากรข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อายุสั้นแบบหมุนเวียนสลับ

30(2.2)การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุสั้นเพื่อผลผลิตสูงและทนทานแล้ง

30(2.6)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุสั้นพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง

30(3.1)การศึกษาและประเมินลักษณะความทนทานแล้งของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยลักษณะทางสรีรวิทยา

30(4.1)การจำแนกและประเมินคุณค่าเชื้อพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในแปลงรวบรวมพันธุ์ (Ex situ)

31(1.1.1)ศึกษาการตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ดีเด่นในพื้นที่ดินด่าง

31(1.1.2)ศึกษาการตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฯ_สมควร คล้องช้าง

31(1.1.3)ศึกษาการตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ดีเด่นในพื้นที่ดินร่วน

31(1.2.1)การจัดการสมดุลของธาตุอาหารพืชในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ดีเด่นในพื้นที่ดินด่าง

31(1.2.2)การจัดการสมดุลของธาตุอาหารพืชในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ดินเหนียว

31(1.2.3)การจัดการสมดุลของธาตุอาหารพืชในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ดินร่วน

31(1.3.1)การจัดการปัจจัยการผลิตอย่างผสมผสานในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมกับพันธุ์ดีเด่น ในพื้นที่ดินด่าง

31(1.3.2.)การจัดการปัจจัยการผลิตอย่างผสมผสานในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมกับพันธุ์ดีเด่น ในพื้นที่ดินเหนียว

31(1.3.3)เรื่องเต้มสิ้นสุด ปัจจัยการผลิตข้าวโพด 54-58 23-3-59 เนื้อหา (1)

31(1.3.4)การศึกษากึ่งสาธิตถึงความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติของดินและการผลิตข้าวโพด

31(2.1)การปลูกข้าวโพดโดยไม่มีการไถพรวนดินในแปลงระยะยาว

31(3.1)คุณภาพเมล็ดพันธุ์และความสามารถในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สายพันธุ์แท้ที่มีศักยภาพ

31(3.3)การศึกษาการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

31(3.4)พัฒนาเครื่องปลิดฝักข้าวโพด

31(4.1.1)การจำแนกระดับความต้านทานของสายพันธุ์ข้าวโพดต่อโรคใบด่าง

31(4.1.3)การประเมินความเสียหายของผลผลิตข้าวโพดที่เป็นโรคใบด่าง

31(4.2.1)การประเมินคุณค่าสายพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ต่อการเข้าทำลายของหนอนเจาะลำต้นข้าวโพด (Ostrinia furnacalis Guenee)

31(4.2.5)ทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงประเภทพ่นทางใบในการป้องกันกำจัดหนอนเจาะลำต้นข้าวโพดในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

31(4.2.6)ทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงประเภทพ่นทางใบในการป้องกันกำจัดหนอนเจาะฝักข้าวโพดในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

32(4.1)ทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในเขตน้ำฝน จังหวัดเลย

32(4.2)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พื้นที่จังหวัดชัยภูมิ

32(6.1)การทดสอบพันธุ์และเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบบบูรณการที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภาคตะวันออก

32(6.2)การทดสอบพันธุ์และเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมกับชุดดินกบินทร์บุรี

32(6.3)การทดสอบเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบบบูรณาการในจังหวัดจันทบุรี

32(6.2)การทดสอบพันธุ์และเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมกับชุดดินกบินทร์บุรี

32(6.3)การทดสอบเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบบบูรณาการในจังหวัดจันทบุรี

32(7.2)การทดสอบการจัดการธาตุอาหารที่เหมาะสมสำหรับผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมทนทานแล้งในดินชุดต่างๆของจังหวัดนครสวรรค์

32(7.3)การทดสอบผลของชุดดินที่มีต่อผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมทนทานแล้งที่ปลูกในเขตจังหวัดนครสวรรค์

32(7.4)การทดสอบและพัฒนาระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทนทานแล้งในเขตจังหวัดนครสวรรค์

33(1.1)การพัฒนาประชากรพื้นฐานพันธุ์ข้าวโพดหวานให้ต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ แบบ 2 ประชากร

33(1.2)การพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม 2554-2558

33(1.3)การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์ข้าวโพดหวาน

33(1.4)การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์ข้าวโพดหวาน

33(1.5)การเปรียบเทียบในท้องถิ่น พันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม

33(1.6)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ข้าวโพดหวาน

33(1.7)การใช้ประโยชน์จากเชื้อพันธุกรรมข้าวโพดหวานลูกผสมที่เป็นการค้า และเชื้อพันธุกรรมข้าวโพดไร่ เพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมให้มีผลผลิตและคุณภาพบริโภคสูง

33(1.8)การศึกษาและจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของข้าวโพดหวานแปลงรวบรวมพันธุ์

33(1.10)การประเมินความต้านทานของพันธุ์ข้าวโพดหวานต่อเชื้อราสาเหตุโรคราน้ำค้าง

33(1.11)การประเมินความต้านทานของพันธุ์ข้าวโพดหวานต่อเชื้อราสาเหตุโรคใบไหม้แผลใหญ่

33(2.1)ศึกษาการให้น้ำในการผลิตข้าวโพดหวานที่เหมาะสมในพื้นที่ดินเหนียว-ร่วนเหนียว

33(2.2)ศึกษาการให้น้ำในการผลิตข้าวโพดหวานที่เหมาะสมในพื้นที่ดินร่วน-ร่วนปนทราย

33(2.3)ศึกษาการใช้ประโยชน์จากเศษซากพืชต่อข้าวโพดหวานที่ปลูกตาม

33(2.4)ผลกระทบของโรคใบไหม้แผลใหญ่ที่เกิดจากเชื้อรา Exserohilum turcicum ต่อผลผลิตและคุณภาพของข้าวโพดหวานพันธุ์ต่างๆ

33(2.5)การศึกษาความเสียหายของข้าวโพดหวานจากการเข้าทำลายของหนอนเจาะลำต้นข้าวโพด (Ostrinia furnacalis Guenee)

33(2.6)ทดลองประสิทธิภาพของฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูปากดูดในข้าวโพดหวานด้วยวิธีคลุกเมล็ดและรองก้นหลุม

33(2.7)ทดลองประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงป้องกันกำจัดแมลงศัตรูปากดูดในข้าวโพดหวานด้วยวิธีการพ่นทางใบ

33(2.8)ทดลองประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงป้องกันกำจัดหนอนเจาะลำต้นและหนอนเจาะฝักในข้าวโพดหวานด้วยวิธีการพ่นทางใบ

33(2.9)ศึกษาการตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของข้าวโพดหวานในดินเหนียว-ดินร่วนเหนียว

33(2.10)ศึกษาการตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของข้าวโพดหวานในดินร่วน-ร่วนปนทราย ชุดดินกำแพงแสน ชุดดินท่าม่วง

33(2.11)(แก้ไข)การใช้ปุ๋ยอย่างผสมผสานในการผลิตข้าวโพดหวาน__สมควร คล้องช้าง แก้ไข 250359

33(2.12)การใช้ปุ๋ยอย่างผสมผสานในการผลิตข้าวโพดหวานที่เหมาะสมในพื้นที่ดินร่วน-ร่วนปนทราย ชุดดินกำแพงแสน ชุดดินท่าม่วง

33(2.13)ศึกษาการจัดการธาตุอาหารที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มคุณภาพและผลผลิตข้าวโพดหวานพันธุ์สงขลา 84-1 ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

33(2.14)การศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ต่อการลดต้นทุน เพิ่มปริมาณ และคุณภาพผลผลิตข้าวโพดฝักสด

33(3.1)การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดปทุมธานี

33(3.2)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดหวานที่เหมาะสมในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์

33(3.4)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดหวานแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์

33(3.5)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดหวานในสภาพดินร่วนเหนียวแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา

33(3.6)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดหวานที่เหมาะสมในดินนาแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมจังหวัดมหาสารคาม

33(3.7)การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ

33(3.8)การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดพังงา

34(1.1)การพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสม

34(1.2)การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดตักหงาย

34(1.3)การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว

34(1.4)เปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์ข้าวโพถดข้าวเหนียว 2554-2558

34(1.6)เปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว 2554-2558

34(1.7)การคัดเลือกข้าวโพดข้าวเหนียวด้วยเทคนิคชีวโมเลกุล

34(1.8)การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวสีม่วง

34(1.9)การเปรียบเทียบปริมาณสารแอนโทไซยานินและเบต้าแคโรทีนในข้าวโพดข้าวเหนียว

34(1.10)การใช้ประโยชน์จากเชื้อพันธุกรรมข้าวโพดต่างชนิดเพื่อปรับปรุงสายพันธุ์ อินเบรดและลูกผสมของข้าวโพดข้าวเหนียว

34(1.11)การศึกษาและจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของข้าวโพดข้าวเหนียว

34(1.12)การประเมินความต้านทานของพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวต่อเชื้อราสาเหตุโรคราน้ำค้าง

34(1.13)การประเมินความต้านทานของพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวต่อเชื้อราสาเหตุโรคใบไหม้แผลใหญ่

34(1.14)ศึกษาอายุการเก็บเกี่ยวและฤดูปลูกที่เหมาะสมสำหรับคุณภาพข้าวโพดข้าวเหนียวพันธุ์ดีเด่น

34(2.1)ศึกษาการตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของข้าวโพดข้าวเหนียวในดินเหนียว-ร่วนเหนียว

34(2.2)ศึกษาการตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของข้าวโพดเทียนและข้าวโพดข้าวเหนียวในดิน ร่วน-ร่วนปนทราย

34(2.3)ศึกษาการใช้ปุ๋ยอย่างผสมผสานในการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวที่เหมาะสมในพื้นที่ดินเหนียว-ร่วนเหนียว

34(2.4)ศึกษาการใช้ปุ๋ยอย่างผสมผสานในการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวที่เหมาะสมในพื้นที่ดินร่วน-ร่วนปนทราย (ชุดดินท่าม่วง)

34(3.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวในสภาพดินร่วนเหนียวแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา

34(3.2)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวที่เหมาะสมในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์

34(3.3)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์

34(3.4)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวที่เหมาะสมในดินนาแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมจังหวัดมหาสารคาม

34(3.5)การทดสอบเทคโนโลยีการปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวในดินร่วนปนทรายจังหวัดอำนาจเจริญ

34(3.6)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวที่เหมาะสมในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ

34(3.7)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวในสภาพดินร่วนปนทรายแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด

34(3.8)การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดพังงา

35(1.1.1)การรวบรวม ศึกษาจำแนกและประเมินคุณค่าเบื้องต้น

35(1.2.6)การปรับปรุงพันธุ์ การสร้างความแปรปรวนในสายพันธุ์ผลผลิตสูง

35(1.2.7)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองเพื่อผลผลิตสูงในแต่ละพื้นที่ (ชุดที่ 2)

35(1.3.2)การถ่ายยีนไซโคลฟิลินในถั่วเหลืองเพื่อทนทานต่อสภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม

35(2.1.14)ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตถั่วเหลืองและคุณภาพเมล็ดพันธุ์

35(2.1.15)การจัดการวัชพืชในถั่วเลืองหลังนาในเขตชลประทาน

35(2.1.16)ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการระบาดของโรคและแมลงศัตรูถั่วเหลือง

35(2.1.23)การตรวจสอบชนิดและปริมาณเชื้อราสาเหตุโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองในแหล่งปลูกที่สำคัญ

35(2.1.24)การสำรวจลักษณะเด่นและศักยภาพของดินในการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองในเขตภาคเหนือ

35(2.1.25) การศึกษาระยะปลูกกับการใช้รถแทรกเตอร์ในถั่วเหลือง (แก้ไข)

36(1.2)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อผลผลิตและคุณภาพ (ชุด 2)การเปรียบเทียบมาตรฐาน

36(1.4)การปรับปรุงพันธุ์ การสร้างความแปรปรวนในสายพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อคุณภาพ

36(1.5)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดโดยวิธีการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์สำหรับปลูกในเขตภาคกลาง-การคัดเลือกพันธุ์

36(1.6)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อผลผลิตและคุณภาพ (ชุด 3)การเปรียบเทียบมาตรฐาน

36(2.1.12)การจัดการวัชพืชและผลของสารกำจัดวัชพืชตกค้างในถั่วเหลือง

36(2.1.12)การจัดการวัชพืชและผลของสารกำจัดวัชพืชตกค้างในถั่วเหลืองฝักสด

36(2.1.15)การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูถั่วเหลืองฝักสดในเขตภาคกลาง

36(2.1.15)การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูถั่วเหลืองฝักสดในเขตภาคกลางเพื่อการส่งออก

37(1.2.2)ผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการผลิตสารไอโซฟลาโวนในถั่วเหลืองพันธุ์ต่าง ๆ

37(2.1)ผลของปุ๋ยฟอสเฟสต่อการสะสมไฟเตทในถั่วเหลือง

37(2.1)ผลของปุ๋ยฟอสเฟสต่อการสะสมไฟเตทในถั่วเหลือง-160359

38(1.1.1)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวต้านทานโรคราแป้ง 54-58_แก้ไข22มีค59

38(1.1.2)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวให้ต้านทานโรคราแป้งโดยการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ 54-58_แก้ไข22มีค59

38(1.1.3)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวไวรัสใบด่างเหลือง 54-58_แก้ไข22มีค59

38(1.1.4)การคัดเลือกพันธุ์ถั่วเขียวเพื่อทนทานอุณหภูมิต่ำ 54-58_แก้ไข 22มีค59

38(1.1.5)การปรับปรงพันธุ์ถั่วเขียวเพื่อให้มีฝักสีขาว54-58_แก้ไข22มีค59

38(1.2.1)การศึกษาความต้านทานของถั่วเขียวผิวมันและผิวดำสายพันธุ์ดีเด่นต่อเชื้อรา Oidium sp. สาเหตุโรคราแป้ง

38(1.2.2)การควบคุมหนอนเจาะฝักถั่วมารูก้า (Maruca vitrata Fabricius)ในถั่วเขียวผิวมันและผิวดำสายพันธุ์ดีเด่น

38(2.1.1)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวผิวดำผลผลิตสูง เปรียบเทียบพันธุ์

38(2.1.2)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวผิวดำผลผลิตสูง ผสมคัดเลือก 54-

38(2.1.3)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวผิวดำขนาดเมล็ดโต ชุดที่ 1 54-

38(2.1.4)การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวผิวดำเพื่อขนาดเมล็ดโต ชุดที่ 2

38(2.2.2)การศึกษาความต้านทานของถั่วเขียวผิวดำสายพันธุ์ดีเด่นต่อเชื้อรา Colletotrichum truncatum สาเหตุโรคแอนแทรคโนส

38(3.1.1)การสำรวจรวบรวมและศึกษาเชื้อพันธุ์ถั่วเขียวและถั่วป่าในสกุล Vigna

38(3.1.2)การศึกษาจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของถั่วเขียวผิวมัน

38(3.1.3)การศึกษาจำแนกพันธุกรรมถั่วเขียวผิวดำ 54-58 อารดา แก้ไข 2

39(1.1.6)การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานในถั่วเขียวที่ปลูกตามหลังข้าวในเขตชลประทาน

39(1.1.9)การตอบสนองของถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 84-1 ต่อระยะเวลาสิ้นสุดการให้น้ำบนดินเหนียวภาคกลาง

39(1.2.6)ศึกษาวิธีการเก็บเกี่ยวด้วยแรงงานคนที่มีต่อผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว

39(1.2.9)ผลกระทบของระยะเวลาการให้น้ำต่อผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวในดินร่วนปนทราย

39(1.3.6)การศึกษาแมลงศัตรูถั่วเขียวผิวมันและถั่วเขียวผิวดำในแปลงเกษตรกรเขตภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง

40(1.1.1)(แก้ไข)การจำแนกลักษณะและประเมินคุณค่าเชื้อพันธุกรรมถั่วลิสง

40(1.1.1)(ตารางไทย)การจำแนกลักษณะและประเมินคุณค่าเชื้อพันธุกรรมถั่วลิสง (ชุด KKFCPN และชุด DOAGN)

40(1.2.7)การเปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มทนทานโรคยอดไหม้

40(1.2.8)การเปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์ถั่วลิสงขนาดเมล็ดปานกลางทนทานโรคยอดไหม้

40(1.3.5)ปฏิกิริยาของสายพันธุ์ถั่วลิสงต่อโรคทางใบ โรคโคนเน่า และโรคยอดไหม้

40(2.2.1)การให้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพถั่วลิสง

40(2.2.5)ช่วงปลูกที่เหมาะสมสำหรับพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มเขตชลประทานในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

40(2.2.6)การประเมินศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มในพื้นที่ภาคใต้

40(2.2.7)แหล่งของแคลเซียมที่มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพถั่วลิสงฝักต้มในพื้นที่ภาคใต้

40(3.1.2)การศึกษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงสายพันธุ์ใหม่ที่เก็บเกี่ยวในอายุต่างๆ กัน

40(3.2.2)ศึกษาการใช้พืชสมุนไพรควบคุมสารพิษอะฟลาทอกซินในถั่วลิสง

41(1.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดลำปาง

41(1.2)ทดสอบเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตถั่วลิสงในพื้นที่ จังหวัดแพร่

41(1.3)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดน่าน

41(1.4)การทดสอบเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน

41(2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตถั่วลิสงจังหวัดอุดรธานี

41(2.2)การทดสอบเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ

41(2.4)การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตถั่วลิสงพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร

41(3.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์

41(3.2)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงหลังนาในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี

41(3.4)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตถั่วลิสงหลังนาในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา

41(3.5)การทดสอบเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม

41(3.6)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ

41(4.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดลพบุรี

41(4.2)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดสระบุรี

41(5.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดพังงา

42(1.1.1)การปรับปรุงพันธุ์งาขาวเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบพันธุ์ในไร่เกษตรกร

42(1.2.2)การปรับปรุงพันธุ์งาดำเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบพันธุ์ในท้องถิ่น

42(1.3.1)การปรับปรุงพันธุ์งาแดงเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบพันธุ์ในไร่เกษตรกร

42(1.4.1)การปรับปรุงพันธุ์งาทนแล้ง การเปรียบเทียบพันธุ์ในไร่เกษตรกร

42(1.5.1)การปรับปรุงพันธุ์งาฝักไม่แตกง่าย การผสมและคัดเลือกพันธุ์

42(1.6.1)การประเมินศักยภาพการให้ผลผลิตงาในเขตชลประทาน

42(1.7.1)การปรับปรุงพันธุ์งาแดงผลผลิตสูงชุดปี 2556 การผสมและคัดเลือกพันธุ์

42(1.8.1)การปรับปรุงพันธุ์งาดำเพื่อผลผลิตสูงชุดปี 2556 การผสมและคัดเลือกพันธุ์

42(1.9.1)การปรับปรุงพันธุ์งาขาวเพื่อผลผลิตสูงชุดปี 2556 การผสมและคัดเลือกพันธุ์

42(1.10.1)การสำรวจ รวบรวม เชื้อพันธุ์งา

42(2.1.1)การทดสอบเทคโนโลยีจัดการธาตุอาหารที่เหมาะสมต่อการปลูกงาในสภาพนา

42(2.1.2)ศึกษาชนิดแมลงศัตรูงาในช่วงปลูกที่แตกต่างกันในสภาพนา

42(2.2.1)ศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยพืชสดและอัตราปุ๋ยหมักจุลินทรีย์

42(2.2.2)ศึกษาชนิดและแมลงศัตรูงาในสภาพนาอินทรีย์

42(2.2.3)ผลของอัตราเมล็ดพันธุ์และวิธีการปลูกงาต่อผลผลิตงาเมื่อปลูกในสภาพนาอินทรีย์

42(2.3.1)ผลของวิธีการทำความสะอาดต่อการเกิดกรดไขมันอิสระและความสามารถใน การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์

42(2.4.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตงาเพื่อแก้ปัญหาหนอนห่อใบงาพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์

42(3.1.1)ผลของการบ่มเมล็ดต่อปริมาณสารกาบาในงางอก

43(1.1)การสกัดสายพันธุ์แท้

43(1.2)การเปรียบเทียบพันธุ์ทานตะวันชนิดสกัดน้ำมัน

44(1.1.1)การรวบรวมพันธุ์สบู่ดำ

44(1.1.2)การเปรียบเทียบพันธุ์สบู่ดำ

45(1)การทดสอบคุณสมบัติเส้นด้ายจากเส้นใยของพันธุ์ฝ้ายที่มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะด้าน

45(1.1)การคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายเพื่อให้มีเส้นใยสีน้ำตาล

45(1.2)การคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายชุดปี 2550

45(1.3)การคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายชุดปี 2551

45(1.4)การคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายเส้นใยสั้น

45(1.5)การคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายชุดปี 2555

45(1.6)การคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายสายพันธุ์ก้าวหน้าชุดที่ 1 แบบ Modal bulk Selection

45(1.7)การคัดเลือกพันธุ์ฝ้าย TF84-4 แบบ Modal Bulk Selection

45(1.8)การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของฝ้ายชุดที่ 1 เพื่อจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืช (TF86-5)

45(1.9)การเปรียบเทียบเบื้องต้น พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี (ชุดที่ 4)

45(1.10)การฟื้นฟูและอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมฝ้าย

45(1.11)การเปรียบเทียบมาตรฐาน พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี (ชุดที่ 2)

45(1.12)การเปรียบเทียบมาตรฐาน พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี (ชุดที่ 3)

45(1.13)การเปรียบเทียบในท้องถิ่น พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี (ชุดที่ 1)

45(1.14)การเปรียบเทียบในท้องถิ่น พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี (ชุดที่ 2)

45(1.15)การเปรียบเทียบในท้องถิ่น พันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี (ชุดที่ 3)

45(1.16)การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ฝ้ายใบขน

45(1.17)การจำแนกและประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมฝ้ายเส้นใยสี ชุดที่ 1 (ฝ้ายใบขน)

45(1.18)การจำแนกและประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมฝ้าย ชุดที่ 2

45(2.1)การศึกษาการจัดการแมลงศัตรูฝ้ายบนฝ้ายสายพันธุ์ก้าวหน้า

45(2.2)การประเมินสายพันธุ์ฝ้ายต่อโรคใบหงิก

45(2.3)การศึกษาชุดเทคโนโลยีการผลิตฝ้ายอินทรีย์

45(2.4)การเพิ่มความแข็งแรงและความสามารถในการงอกในแปลงปลูกของฝ้ายพันธุ์ ตากฟ้า 3

45(2.5)อัตราปุ๋ยที่เหมาะสมของฝ้ายสายพันธุ์ก้าวหน้า ชุดที่ 1

45(2.6)อัตราประชากรที่เหมาะสมของฝ้ายสายพันธุ์ก้าวหน้า

45(2.7)การประเมินความเสียหายของผลผลิตฝ้ายเนื่องจากการเข้าทำลายของแมลงศัตรูที่สำคัญ

46(1.1)การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างหวานให้ได้ผลผลิตและคุณภาพสูง การเปรียบเทียบพันธุ์มาตรฐาน

46(1.2)(สอพ.)การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างหวานให้ต้านทานโรคลำต้นเน่าดำ การเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้น

47(1.1.1)(แก้ไข)การทดสอบพันธุ์สับปะรดลูกผสมชั่วที่ 1 (F1 รุ่นที่ 1) ที่เหมาะสมสำหรับการบรรจุกระป๋อง

47(1.2.3)(แก้ไข)การทดสอบพันธุ์สับปะรดสายต้นปัตตาเวียในแหล่งผลิตต่างๆ

47(1.2.5)(แก้ไข)การเปรียบเทียบสับปะรดสายพันธุ์ลูกผสมชั่วที่ 1 (F1 รุ่นที่ 2) ที่เหมาะสมสำหรับการบรรจุกระป๋อง

47(1.2.6)(แก้ไข)การเปรียบเทียบสายต้น สายพันธุ์สับปะรดสับปะรดกลุ่ม Smooth cayenne ที่เหมาะสมสำหรับการบรรจุกระป๋อง

47(1.3.2)(แก้ไข)การผสมกลับครั้งที่ 2 (Back cross 2) เพื่อพัฒนาสายพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับการบรรจุกระป๋อง

47(1.3.3)(แก้ไข)การคัดเลือกสับปะรดลูกผสมชั่วที่ 1 (F1 รุ่นที่ 3) ที่เหมาะสมสำหรับการบรรจุกระป๋อง

47(2.1.1)(แก้ไข)การทดสอบพันธุ์สับปะรดลูกผสมชั่วที่ 1 (F1 รุ่นที่ 1) ที่เหมาะสมสำหรับการบริโภคผลสด

47(2.2.2)(นายทวีศักดิ์ แสงอุดม)การเปรียบเทียบสายต้นสับปะรดกลุ่มควีนที่ทนทานต่อการเกิดอาการไส้สีน้ำตาล

47(2.2.2)(นายพฤกษ์ คงสวัสดิ์)การเปรียบเทียบสายต้นกลุ่มควีนที่ทนทานต่อการเกิดอาการไส้สีน้ำตาล

47(2.2.3)(แก้ไข)การเปรียบเทียบพันธุ์สับปะรดลูกผสมชั่วที่ 1 (F1 รุ่นที่ 2) ที่เหมาะสมสำหรับการบริโภคผลสด

47(2.3.3)การคัดเลือกพันธุ์สับปะรดลูกผสมชั่วที่ 1 (F1 รุ่นที่ 3) ที่เหมาะสมสำหรับการบริโภค

48(2.1)ศึกษาการจัดการหน่อและปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตสับปะรดภูแลเพื่อการส่งออก(25.10.59)

48(2.2)การศึกษาและพัฒนาการจัดการธาตุอาหารเพื่อแก้ปัญหาการเกิดอาการไส้สีน้ำตาลในสับปะรดผลสดกลุ่มควีน

48(2.3)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตต้นพันธุ์สับปะรด MD2 โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

50(1)สารเคมีชนิดต่างๆต่อการควบคุมการเกิดอาการไส้สีน้ำตาลในสับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง

51(1)ผลของการใช้สารเคลือบผิวชนิดต่าง ๆต่อการเกิดอาการไส้สีน้ำตาลในสับปะรดผลสดพันธุ์ตราดสีทอง

51(2)ผลของบรรจุภัณฑ์ (MAPs) ต่อการเกิดอาการไส้สีน้ำตาลในสับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง

52(1)รวบรวม จำแนก ประเมินคุณค่า และพัฒนาพันธุ์ลำไย

53(1)ทดสอบผลการเตรียมต้นและการตัดแต่งช่อผลต่อการเพิ่มขนาดผลลำไยนอกฤดูของเกษตรกรในพื้นที่

53(2)ทดสอบผลการเตรียมต้นและการเร่งการสลายตัวของคลอเรตในดินต่อการชักนำการออกดอกนอกฤดูของเกษตรกรในพื้นที่

54(1.1)ทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตลำไยนอกฤดูเพื่อชักนำการออกดอกและติดผลช่วงฤดูฝน

54(2.1)เทคโนโลยีการจัดการศัตรูลำไยเพื่อแก้ปัญหาสารพิษตกค้างในผลผลิตลำไยนอกฤดู จังหวัดเชียงใหม่

55(1.1.1.4)การพัฒนาชุดเทคโนโลยีการผลิตมังคุดก่อนฤดูที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่

55(1.2.1)พัฒนาวิธีการจัดการเพลี้ยไฟ (Scirtothrips dorsalis Hood)เพื่อเพิ่มผลผลิตคุณภาพ

55(1.3.1)การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของมังคุดในภาคตะวันออก

55(1.3.2)การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของมังคุดในภาคใต้

55(2.1.1)การจัดการทรงต้นมังคุดเพื่อพัฒนาการผลิตมังคุดคุณภาพ

55(2.1.2)ศึกษาและเปรียบเทียบการให้ผลผลิตของต้นมังคุดที่ปลูกจากการขยายพันธุ์ต่างกัน

55(3.1.1)ศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศต่อการผลิตมังคุดในภาคตะวันออก

55(3.1.2)ศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศต่อการผลิตมังคุดในภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช

55(4.1)(แก้ไข)ศึกษาวิจัยเครื่องต้นแบบสำหรับเป่าแห้งมังคุดสดในโรงคัดบรรจุสำหรับการส่งออก

56(1)ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าทำลายของเพลี้ยไฟ ต่อการเกิดอาการเนือแก้วยางไหลในผลมังคุด

56(2)วิจัยและพัฒนาการจัดการสารควบคุมการเจริญเติบโต เพื่อลดอาการเนื้อแก้วยางไหลภายในผล

56(3)การเปลี่ยนแปลงระหว่างเอนไซม์และน้ำตาลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสุกของผลมังคุดกับอาการเนื้อแก้ว

58(1.1.1)โครงการวิจัยฯ ทุเรียนสิ้นสุด 58_กิจกรรม 1.1 ศวพ.ยะลา

58(1.2.1)การคัดเลือกและเปรียบเทียบทุเรียนสายพันธุ์พื้นเมืองทีมีศักยภาพการผลิตในเชิงการค้า

58(1.3.1)(แก้ไข)การคัดเลือกสายต้นทุเรียนพื้นเมืองพันธุ์ดีในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง

58(2.1.1 ,2.2.1)เล่มเต็มทุเรียน การทดลองที่ 2

58(2.3.1)การศึกษาและเปรียบเทียบพันธุ์ทุเรียนลูกผสมที่มีลักษณะดีเด่นทางการเกษตรในแหล่งผลิตต่างๆ เพื่อกระจายการผลิตและการส่งออก

58(2.4.1)(แก้ไข)ศึกษาการตอบสนองต่อปุ๋ย-ทุเรียน_ปัญจพร เลิศรัตน์ แก้ไข 250359

58(2.5.1)ศึกษาปฏิกิริยาของทุเรียนพันธุ์ลูกผสมต่อเชื้อรา Phytopthora palmivora

58(2.6.1)การเปรียบเทียบทุเรียนลูกผสมพันธุ์ใหม่ในเชิงพาณิชย์ในแหล่งปลูกทุเรียนที่สำคัญภาค

58(2.7.1)ทดสอบพันธุ์ทุเรียนจันทบุรี 1 2 และ 3 ในพื้นที่เกษตรกร

58(2.7.2)ทดสอบพันธุ์ทุเรียนจันทบุรี 1 2 และ 3 ในพื้นที่เกษตรกรจังหวัดจันทบุรี

58(2.7.3)ทดสอบพันธุ์ทุเรียนจันทบุรี 1 2 และ 3 ในพื้นที่เกษตรกรจังหวัดระยอง

58(2.8.1)การศึกษาการปรับเปลี่ยนทุเรียนพันธุ์ดั้งเดิมด้วยพันธุ์ลูกผสมใหม่ในแหล่งผลิต ทุเรียนภาคตะวันออก

58(2.9.1)การสร้างลูกผสมใหม่จากทุเรียนสายพันธุ์พื้นเมืองทีมีศักยภาพการผลิตในเชิงการค้า

59(1.1)(แก้ไข)การจัดทรงต้นทุเรียนรูปแบบต่างๆในระยะปลูกชิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทุเรียนคุณภาพ

59(1.2)การจัดทรงต้นทุเรียนรูปแบบต่างๆในระยะปลูกชิด แนวตั้ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทุเรียนคุณภาพ

59(3.2)ศึกษาประสิทธิภาพของสารเคมีและสารอินทรีย์ในการป้องกันกำจัดโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียน

59(3.3)การศึกษาการควบคุมโรครากเน่าและโคนเน่าของทุเรียนโดยใช้ชีวภัณฑ์ที่ ผลิตได้จากเชื้อ Bacillus subtilis

59(4.1)ศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศต่อการผลิตทุเรียนในภาคตะวันออก

60(1.1.1)การสำรวจ รวบรวมพันธุ์ การคัดเลือกพันธุ์เงาะลูกผสมเดิม และการสร้างเงาะลูกผสมใหม่ที่เหมาะสมสำหรับการรับประทานผลสดและอุตสาหกรรมแปรรูป

60(1.1.2)การทดสอบพันธุ์เงาะในแหล่งปลูกใหม่เพื่อขยายช่วงฤดูการผลิตเงาะเขตภาคเหนือ

61(1.1)(ใช้)ศึกษาวิจัยการลดความชื้นเงาะในโรงคัดบรรจุสำหรับการส่งออก

62(1)การปรับปรุงพันธุ์มะละกอพันธุ์แขกนวลสายพันธุ์แท้

62(2)การปรับปรุงพันธุ์มะละกอพันธุ์แขกดำสายพันธุ์แท้

62(3.1)การรวบรวม ศึกษาและจำแนกพันธุ์มะละกอ

62(3.2)การผสมพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์มะละกอสายพันธุ์แท้จากพันธุ์ลูกผสมที่ผ่านการคัดเลือก

62(5)(แก้ไข)ปรับปรุงพันธุ์มะละกอพันธุ์แขกดำท่าพระ เพื่อทนทานต่อโรคจุดวงแหวน

62(6)(แก้ไข)ปรับปรุงพันธุ์มะละกอพันธุ์ขอนแก่น 80 เพื่อทนทานต่อโรคจุดวงแหวน

62(7)การปรับปรุงพันธุ์มะละกอให้ต้านทานต่อไวรัสจุดวงแหวนมะละกอด้วยการฉายรังสี

62(8.1)การทดสอบระดับความทนทานโรคจุดวงแหวนของมะละกอสายพันธุ์แท้และสายพันธุ์ลูกผสมที่ผ่านการคัดเลือกในสภาพเรือนทดลอง

62(8.2)การทดสอบระดับความทนทานโรคจุดวงแหวนของมะละกอสายพันธุ์แท้และสายพันธุ์ลูกผสมที่ผ่านการคัดเลือก

62(9)การศึกษาเทคโนโลยีการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมมะละกอในสภาพปลอดเชื้อ (Tissue Culture) และสภาพเยือกแข็ง (Cryopreservation)

62(10)การทดสอบพันธุ์มะละกอพันธุ์แท้ในแหล่งปลูกต่างๆ

62(11)การศึกษาการเจริญเติบโตของมะละกอพันธุ์ลูกผสมออสเตรเลีย-ฮาวาย

64(1.1)รวบรวมและศึกษาพันธุ์ส้มโอในสภาพแปลงปลูกเพื่อการใช้ประโยชน์จากเชื้อพันธุกรรม

64(2.2)เปรียบเทียบพันธุ์ส้มโอท่าข่อยสายต้นคัดเลือก

64(2.3)การทดสอบพันธุ์ส้มโอที่คัดเลือกสายต้นจากการเพาะเมล็ด

64(3.2)ทดสอบพันธุ์ส้มโอทองดีที่คัดเลือกได้จากการกลายพันธุ์โดยการฉายรังสีในเขตภาคเหนือตอนล่าง

64(3.3)ทดสอบพันธุ์ส้มโอทองดีที่คัดเลือกได้จากการกลายพันธุ์โดยการฉายรังสี

64(4.1)คัดเลือกสายพันธุ์ส้มโอที่ได้จากการผสมพันธุ์

64(5.2)การตอบสนองของพันธุ์ส้มโอ ต่อวิธีผสมผสานในการควบคุมการออกดอกเพื่อการผลิตนอกฤดู

68(1)การพัฒนาการผลิตเพื่อผลิตมะม่วงคุณภาพในระบบปลูกชิด

68(1.1)การศึกษาความต้องการธาตุอาหารของมะม่วงโดยการวิเคราะห์พืช

68(2)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงล่าฤดูในภาคเหนือตอนบน

69(1)(แก้ไข)การจัดการด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วง และ การทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืช ต่อเพลี้ยแป้งในแปลงมะม่วงอินทรีย์

70(1)การทดสอบพันธุ์มะม่วงลูกผสมเพื่อการส่งออก (ระยะที่ 1)

70(2.1)การสร้างสวนมะม่วงสายพันธุ์ใหม่เพื่อการส่งออก (ระยะที่ 2)

70(2.2)การศึกษาและคัดเลือกพันธุ์มะม่วงพันธุ์ไทยกลุ่มต่าง ๆ เพื่อพัฒนาใช้ประโยชน์ด้านการบริโภคและการแปรรูป

70(3)การจำแนกพันธุ์มะม่วงในสภาพแปลงปลูกเพื่อการใช้ประโยชน์จากเชื้อพันธุกรรม

71(1)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตจังหวัดขอนแก่น

71(2)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตจังหวัดชัยภูมิ

71(3)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตจังหวัดอุดรธานี

72(1.1)การเปรียบเทียบพันธุ์มะม่วงหิมพานต์ใน แหล่งปลูกต่าง ๆ

73(1)รวบรวม จำแนก ประเมินคุณค่า และพัฒนาพันธุ์ลิ้นจี่

74(1.2)ผลของการให้แคลเซียมต่อการเกิดอาการเปลือกผลแห้งสีน้ำตาลของลิ้นจี่ในเขตภาคเหนือ

75(1.2)พัฒนาการรมให้เหมาะกับลิ้นจี่แต่ละพันธุ์ในเขตภาคเหนือตอนบน

75(2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการใช้กรดต่อการยืดอายุการเก็บรักษาลิ้นจี่

75(2.2)การทดสอบเทคโนโลยีการใช้คลอรีนไดออกไซด์ต่อการยืดอายุการเก็บรักษาลิ้นจี่

75(2.3)ทดสอบการส่งออกผลลิ้นจี่ที่ใช้สารทดแทน

75(3.1)การทดสอบพัฒนาเครื่องมือต้นแบบร่วมกับสารทดแทนสำหรับผลลิ้นจี่ส่งออก

75(3.2)การทดสอบพัฒนาการลดอุณหภูมิผลลิ้นจี่ด้วยน้ำเย็นสำหรับการส่งออกในประเทศแถบเอเชีย

78(1.1.1)เปรียบเทียบพันธุ์กาแฟโรบัสต้า 6 สายพันธุ์ ชุดที่ 6

78(1.1.2)การเปรียบเทียบกาแฟโรบัสตาพันธุ์เมล็ดใหญ่

78(1.1.3)เปรียบเทียบพันธุ์กาแฟโรบัสตา 10 สายพันธุ์ ชุดที่ 7

78(1.1.4)การเปรียบเทียบพันธุ์กาแฟโรบัสตา 12 สายพันธุ์ ชุดที่ 8

78(1.1.5)การทดสอบพันธุ์กาแฟโรบัสตาชุดที่ 2 ในแหล่งปลูกต่าง ๆ 3 แห่ง

78(1.1.6)การรวบรวมและศึกษาพันธุ์กาแฟโรบัสตาสายพันธุ์ต่าง ๆ

78(1.1.7)ศึกษาและพัฒนาระบบการขยายพันธุ์กล้ากาแฟพันธุ์ใหม่โดยการใช้ระบบการเพาะเลี้ยง TIBsและ Somatic Embryogenesis

78(2.2.1)การทดสอบและคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิก้าลูกผสมชั่วที่ 1 (F) ระหว่างสายพันธุ์แท้กับสายพันธุ์ลูกผสมชั่วที่ 6 ต่อโรคราสนิมในสภาพธรรมชาติ

78(2.2.2)การทดสอบและคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสมชั่วที่ 1 (F1)ระหว่างสายพันธุ์แท้กับสายพันธุ์ลูกผสมต่อโรคราสนิมในสภาพธรรมชาติ

78(2.2.3)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสมชั่วที่ 1 (F1) ที่ได้จากโครงการวิจัยและปรับปรุงพันธุ์กาแฟอะราบิกาโดยวิธีการผสมพันธุ์

78(2.2.4)การคัดเลือกและทดสอบพันธุ์กาแฟอะราบิกาสายพันธุ์คาร์ติมอร์ ต้านทานโรคราสนิม

78(2.2.5)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาจากเมล็ด Peaberry

78(2.2.6)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสม Sarchimor ชุดที่ 1

78(2.2.7)การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอาราบิก้าสายพันธุ์ต้านทานโรคราสนิมลูกผสมชั่วที่ 5

78(2.2.8)การเปรียบเทียบสายพันธุ์กาแฟอะราบิกาที่นำเข้าจากประเทศออสเตรเลีย

78(2.3.1)เปรียบเทียบกาแฟอะราบิกาพันธุ์คัดเลือกกับพันธุ์ต่างประเทศ-2017.04.05

78(2.3.2)ทดสอบกาแฟอะราบิก้าพันธุ์คัดเลือกในแหล่งต่างๆ

78(2.4.1)การศึกษาจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของพืชสวนอุตสาหกรรมในแปลงรวบรวมพันธุ์ (Ex situ) กาแฟอะราบิกา

78(2.4.2)ฐานข้อมูลลายพิมพ์ดีเอ็นเอของกาแฟอะราบิกาในประเทศไทย

78(2.5.1)ศึกษาการขยายพันธุ์กาแฟอะราบิกา โดยวิธี somatic embryogenesis และ micro-cutting

79(1.3)สำรวจ รวบรวมและจำแนกชนิดโรคกาแฟอาราบิก้าในประเทศไทย

79(2.2)การพัฒนาระบบการปลูกกาแฟอะราบิกา

80 (2.1)การศึกษาลักษณะเฉพาะของเมล็ดกาแฟในแต่ละแหล่งปลูก-16สค60-กผง-21สค60

80 (2.2) การสร้างสูตรผสมกาแฟเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน-30สค60 1

80(2.3) รูปแบบการคั่วที่เหมาะสมสำหรับกาแฟแต่ละแหล่งปลูก-29สค2560 1

80(3.1) ศึกษารูปแบบที่เหมาะสมในการเก็บรักษาเมล็ดกาแฟ-7กย60

80(3.2) ศึกษาอายุการเก็บรักษาเมล็ดกาแฟที่เหมาะสม-7กย60

81(1)การผสมพันธุ์แบบผสมกลับในมะพร้าวลูกผสมกะทิ

81(2)การสร้างความหลากหลายในพันธุ์มะพร้าวกะทิ

81(3)การสร้างสวนพันธุ์มะพร้าวกะทิน้ำหอมโดยการเพาะเลี้ยงคัพภะ

81(4)การขยายพันธุ์และสร้างสวนผลิตพันธุ์น้ำหอม

81(5)การสร้างสวนผลิตพันธุ์มะพร้าวน้ำหอมในเขตภาคเหนือตอนล่าง

81(6)การใช้เทคโนโลยีเครื่องหมายโมเลกุลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์มะพร้าว

81(8)การเปรียบเทียบพันธุ์มะพร้าวลูกผสมกะทิ ชั่วที่ 2

81(9)การศึกษาชิ้นส่วนและอาหารสูตรที่เหมาะสมต่อการชักนำให้เกิดไซโกติคและโซมาติคเอ็มบริโอของมะพร้าวกะทิ

81(10)ประเมินศักยภาพการผลิตมะพร้าวกะทิน้ำหอมในจังหวัดตรัง ปัตานี และนราธิวาส

83(1.4)การป้องกันกำจัดโรคดอกจุดสนิมของกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อ Curvularia eragrostidis โดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์และสารเคมี

83(1.7)(แก้ไข)การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคพืชในการควบคุมโรคใบปื้นเหลืองของกล้วยไม้ที่เกิดจากเชื้อรา Pseudocercospora dendrobii Deighton

83(1.8)ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟฝ้าย (cotton thrips)Thrips palmi (Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย

83(1.9)การบริหารศัตรูกล้วยไม้แบบผสมผสาน

83(4.1)การจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตคุณภาพของกล้วยไม้

83(4.2)การผลิตกล้วยไม้ตัดดอกสกุลหวายให้ปลอดศัตรูพืชตามมาตรฐานสินค้า

83(6.2)บทคัดย่อ+ผลการทดลอง -ปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้หวาย สิ้นสุด 58

83(7.1)การผลิตกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์การค้าให้ปลอดเชื้อ Cymbidium Mosaic Virus(CyMV) และ Odontoglossum Ringspot Virus (ORSV)

84(1.1.1)การปรับปรุงพันธุ์แวนด้าฟ้ามุ่ย

84(1.1.2)การปรับปรุงพันธุ์แวนดาสามปอยเพื่อใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์

84(3.1.1)(แก้ไข)การใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดโรคกล้วยไม้สกุลแวนด้าที่เกิดจากแบคทีเรีย

85(1.1)การพัฒนาพันธุ์ลูกผสมรองเท้านารีในท้องถิ่นต่างๆ

85(1.2)การคัดเลือกและสร้างสายพันธุ์แท้ (inbred line) รองเท้านารีในท้องถิ่นต่างๆ

85(1.3) การคัดเลือกรองเท้านารี (อรุณี)

85(2.2)เปรียบเทียบการขยายพันธุ์กล้วยไม้รองเท้านารีเลียนแบบสภาพธรรมชาติและสภาพปลอดเชื้อ

85(3.3)ศึกษาวัสดุปลูก MTEC ร่วมกับการจัดการปุ๋ยสำหรับกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองปราจีน

86(1.2.1)ซิมบิเดียมลูกผสมสายพันธุุ์ทนร้อนโดยวิธีผสมพันธุ์สำหรับใช้เป็นไม้กระถาง

86(1.4.1)การคัดเลือกพันธุ์กล้วยไม้สกุลสแปโทกลอททิสลูกผสมชุดที่ 3

86(1.4.2)ทดสอบพันธุ์กล้วยไม้สกุลสแปโทกลอททิส

86(1.5.2)การคัดเลือกและสร้างสายพันธุ์แท้ (inbred line) กล้วยไม้สกุลลิ้นมังกร

86(1.5.3)การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้สกุลลิ้นมังกรด้วยการฉายรังสี

86(1.5.4)การคัดเลือกพันธุ์ลูกผสมกล้วยไม้สกุลลิ้นมังกร

86(1.6.1)การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้ดินสกุลเอื้องพร้าวโดยการผสมพันธุ์

86(1.6.2)การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้สกุลเอื้องพร้าวด้วยการฉายรังสี

86(1.7.1)การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้ดินสกุลคาเเลนเธโดยการผสมพันธุ์

86(2.5.1)การควบคุมโรคเน่าดำของกล้วยไม้ดินสกุลสแปโทกลอททิสโดยใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์

87(2.2)การป้องกันกำจัดโรคกลีบดอกไหม้ในกล้วยไม้สกุลมอคคาร่าโดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์และสารเคมี

88(1.1)เรื่องเต็มการทดลองสิ้นสุดอนุรักษ์กล้วยไม้(เชียงราย)

88(1.1)สำรวจ รวบรวม ศึกษา จำแนกลักษณะ และประเมินคุณค่าเชื้อพันธุกรรมกล้วยไม้ (ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ)

88(5.1)การสำรวจและรวบรวมกล้วยไม้ป่าในเขตอุทยานแห่งชาติขุนตาล

88(6.1)การขยายพันธุ์และเก็บรักษากล้วยไม้ป่าสกุลแวนดาในสภาพปลอดเชื้อ

89(1.2)การวิจัยและพัฒนาเครื่องมือการผลิตวัสดุปลูกทดแทนกาบมะพร้าว

89(1.3)การศึกษาระบบให้น้ำและวิธีการจัดการน้ำสำหรับวัสดุปลูกทดแทนกาบมะพร้าว

89(3.2)ศึกษาผลตอบสนองการเจริญเติบโตและคุณภาพของกล้วยไม้สกุลฟาแลนนอปซิส และสกุลออนซิเดียมกระถางในวัสดุปลูกชนิดใหม่

91(1)วิจัยต้นแบบเครื่องผลิตลมเย็นในการยืดอายุการวางจำหน่ายกล้วยไม้ตัดดอกที่รมด้วยเมทิลโบรไมด์

92(1.1.5)การสร้างพันธุ์พริกจินดาเพื่อให้ได้สายพันธุ์เกสรเพศผู้เป็นหมัน

92(1.1.6)การผสมและคัดเลือกพันธุ์พริกขี้หนูผลสดหัวเรือ

92(1.1.7)การปรับปรุงพันธุ์พริกช่อเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ

92(1.2.2)การทดสอบพันธุ์พริกขี้หนูสวนที่ปลูกกลางแจ้งได้

92(1.3.1)การสร้างฐานพันธุกรรมพริกเพื่อใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์

92(1.4.1)การทดสอบพันธุ์พริกชี้ฟ้าเพื่อการบริโภคสดในไร่เกษตรกร

92(1.4.2)การทดสอบพันธุ์พริกชี้ฟ้าเพื่อทำพริกแห้งในไร่เกษตรกร

92(1.4.3)การทดสอบพันธุ์พริกชี้ฟ้าเพื่อทำซอสพริกในไร่เกษตรกร

92(2.1.3)การผสมและการคัดเลือกพันธุ์พริกขี้หนูใหญ่พันธุ์จินดาให้ต้านทานโรคแอนแทรคโนส

92(2.2.7)การคัดเลือกและทดสอบพันธุ์พริกที่ต้านทานโรคใบหงิกเหลือง

92(2.2.8)การเปรียบเทียบพันธุ์พริกชี้ฟ้าต้านทานโรคใบด่างแตง (CMV)

92(2.2.10)การเปรียบเทียบพันธุ์พริกขี้หนูต้านทานโรคใบด่างแตง (CMV)

93(1.1.2)การผสมและคัดเลือกลูกผสมพริกที่มีสารแคบไซซินสูง

93(1.1.3)การเปรียบเทียบพันธุ์พริกที่มีความเผ็ดสูง

93(1.2.1)การคัดเลือกพันธุ์พริกขี้หนูที่มีสารแอนโทไซยานินสูง

97(1.3)ศึกษาผลผลิตของไพลที่ได้จากหัวพันธุ์รุ่น G1 และ G2 เปรียบเทียบกับหัวพันธุ์ที่ได้จากแปลงปกติ

97(2)ศึกษาการควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียของไพลโดยวิธีผสมผสาน

98(1.1)การศึกษาปริมาณธาตุอาหาร สารสำคัญและองค์ประกอบอื่นในปัญจขันธ์พันธุ์ต่างๆ

98(1.1)เล่มเต็มปัญจขันธ์ภูเรือ

99(2.3)วิจัยคุณภาพและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์สูตรผสมรวมพืชว่านน้ำ สะเดา และหางไหลในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช

99(2.4)ศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลันของผลิตภัณฑ์สูตรผสมรวมพืชต่อลูกปลานิล

100(2.1.1.1)การคัดเลือกพันธุ์โกฐจุฬาลำพา

100(2.1.2.1)(ฉบับแก้ไข)การรวบรวมและคัดเลือกพันธุ์ดีปลี

100(2.1.2.2)ผลของชนิดและอัตราปุ๋ยเคมีและอินทรีย์ที่มีต่อการเพิ่มผลผลิตและสารสำคัญในดีปลี

100(2.1.2.3)อิทธิพลความเข้มแสงที่มีต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพของดีปลี

100(2.1.4.1)การผสมและคัดเลือกพันธุ์ฟักข้าว

100(2.3.1.1)การปรับปรุงพันธุ์มะรุม

100(2.3.3.1)ปรับปรุงพันธุ์กระเจี๊ยบแดง

100(3.1.1.1)การผสมพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์วานิลลาให้ได้พันธุ์ที่มีสารวานิลลินสูง

100(3.2.1)(แก้ไข)เปรียบเทียบพันธุ์กระวานเมื่อปลูกในสภาพพื้นที่ระดับความสูงต่างกัน

100(3.3.1)รวบรวมพันธุ์และจำแนกพันธุ์อบเชยทั้งไทยและต่างประเทศ

100(4.1.1.1)(แก้ไข)รวบรวมและคัดเลือกสายพันธุ์สมอไทยและสมอพิเภก

100(5.1.1.1)ศึกษาและคัดเลือกชนิดพืชสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อใช้ในตำรับยาในระบบการผลิตอย่างยั่งยืน

101(1.2)การศึกษาเทคนิคทางสถิติเพื่อใช้เป็นมาตรฐานสำหรับแปลงทดลองไพล

102(1)ศึกษาการป้องกันกำจัดโรคเหี่ยวของขมิ้นชันที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียในสภาพแปลงปลูก

102(2)การทดสอบขมิ้นชันพันธุ์ 84-2 และเทคโนโลยีการผลิตในแปลงเกษตรกร

104(1.1)(ใช้)การรวบรวม ศึกษาและประเมินคุณค่าเชื้อพันธุกรรมหน้าวัว

104(1.2)(แก้ไข)การเปรียบเทียบพันธุ์หน้าวัวลูกผสมชุดที่ ๒

104(1.3)การทดสอบพันธุ์หน้าวัวลูกผสมห้างฉัตร ชุดที่ 1

104(1.4)การปรับปรุงพันธุ์หน้าวัวต้านทานต่อโรคเน่าดำ-โรคใบไหม้

104(2.1)การทดสอบการขยายพันธุ์หน้าวัวพันธุ์ลูกผสมใหม่ในเชิงการค้า

104(2.1)การทดสอบการขยายพันธุ์หน้าวัวพันธุ์ลูกผสมใหม่ในอาหารเหลวด้วยระบบ TIB

104(2.2)การพัฒนาการขยายพันธุ์หน้าวัวโดยไม่ผ่านขั้นตอนการเกิดแคลลัส

105(1.3)ศึกษาการผลิตไม้ดอกวงศ์ขิงข่าในเขตนิเวศน์เกษตรต่างๆ

106(1.2)การคัดเลือกพันธุ์ดาหลา

106(1.3)การทดสอบพันธุ์ดาหลา

109(2.3)อิทธิพลของปัจจัย

110(1.1.1)การสำรวจและรวบรวมสายต้นส้มเขียวหวาน สายน้ำผึ้ง และส้มต่างๆ ที่ทนทานต่อโรคกรีนนิ่งในสภาพสวนที่มีการระบาดของโรค

110(1.1.1)ศวพ.แพร่)การสำรวจและรวบรวมสายต้นส้มเขียวหวาน สายน้ำผึ้ง และส้มต่างๆ ที่ ทนทานต่อโรคกรีนนิ่งในสภาพสวนที่มีการระบาดของโรค

110(1.1.2)การคัดเลือกสายต้นส้มเขียวหวาน สายน้ำผึ้ง และส้มต่างๆ ที่ทนทานต่อโรคกรีนนิ่งในสภาพสวนที่มีการระบาดของโรค

110(1.2.1)การเปรียบเทียบพันธุ์ส้มลูกผสมระหว่างส้มเขียวหวานและสายน้ำผึ้งกับส้มแป้นและลาดู

110(2.1.1)การปรับปรุงพันธุ์และคัดเลือกส้มเปลือกล่อนและส้มต่าง ๆ ให้มีเมล็ดน้อยหรือไม่มีเมล็ดโดยการฉายรังสี

110(2.1.2)การทดสอบสายต้น พันธุ์ส้มไม่มีเมล็ดที่ได้จากการฉายรังสี

110(3.1.1)การศึกษาเทคโนโลยีการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมพืชสกุลส้ม (ส้มเขียวหวาน ส้มชนิดต่าง ๆ ) ในสภาพปลอดเชื้อ

112(1.1-1.2-1.3)การพัฒนาพันธุ์ลองกองและเทคโนโลยีที่เหมาะสม

112(1.2)การศึกษาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพันธุ์

112(1.3)ศึกษาผลของการตัดยอดต้นลองกองที่มีต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต

114(1.1)การรวบรวม และศึกษาพันธุ์มะนาวในสภาพแปลงปลูกเพื่อการใช้ประโยชน์

114(1.2)เปรียบเทียบพันธุ์มะนาวลูกผสมที่คัดเลือกได้จากการผสมพันธุ์

114(1.3)เปรียบเทียบสายต้นคัดเลือกมะนาวพันธุ์ M 33 ที่ผ่านการฉายรังสี

114(1.4)การคัดเลือกสายต้นมะนาวสายพันธุ์แป้นที่ทนทานต่อโรคที่สำคัญและคุณภาพดี

114(2.1)ผลของวิธีการให้ทางดิน และทางใบและอัตราของสารยูนิคอนาโซลต่อการออกดอกและให้ผลผลิตนอกฤดูของมะนาวพันธุ์แป้น

114(4.1)ศึกษาชนิดต้นตอที่เหมาะสมกับมะนาวพันธุ์การค้า

114(5.1)วิธีการตัดแต่งเพื่อควบคุมขนาดและทรงพุ่มต้นมะนาวที่เจริญบนต้นตอ

115(1.1)การทดสอบพันธุ์มันฝรั่งต้านทานโรคใบไหม้ในแปลงเกษตรกร

116(1)อิทธิพลของสารเร่ง และจำนวนข้อต่อการเจริญเติบโตของต้นแม่พันธุ์มันฝรั่ง

116(2)อิทธิพลของสารเร่งการเจริญเติบโตต่อการเพิ่มปริมาณของหัวพันธุ์มันฝรั่งขนาดเล็ก

117(1.1)การจัดการโรคเหี่ยวของขิงที่เกิดจากแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum แบบผสมผสาน

117(1.6)ศึกษาวิธีการเก็บรักษาหัวพันธุ์ขิง

117(2.1.1)ศึกษาอายุการเก็บเกี่ยวของขิงจากต้นกล้า และหัวพันธุ์ขิงปลอดโรค เพื่อผลิตหัวพันธุ์ขิง (minirhizome) และขิงปลอดโรค (G0) ในสภาพโรงเรือน

117(2.1.2)การศึกษาระยะปลูกของขิงจากต้นกล้าและหัวพันธุ์ขิงปลอดโรคเพื่อผลิตหัวพันธุ์ขิง (minirhizome)และขิงปลอดโรค (G0) ในสภาพโรงเรือน

117(2.1.3)ศึกษาการผลิตหัวพันธุ์ขิงปลอดโรค (G1) ในสภาพไร่

117(2.2.1)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตหัวพันธุ์ขิงปลอดโรค (G1) ในแปลงเกษตรกร

118(1.1)การศึกษา จำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของมันเทศ ในแปลงรวบรวมพันธุ์

118(1.4)ทดสอบพันธุ์มันเทศเพื่ออุตสาหกรรม

118(1.13)การผสมและคัดเลือกพันธุ์มันเทศเนื้อสีม่วงเพื่อให้ได้สารแอนโทไซยานินสูง (ชุดที่3)

119(1.1)รวบรวมพันธุ์และจำแนกลักษณะพันธุกรรม โดยสัณฐานวิทยาของเผือกจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ในแปลงรวบรวมพันธุ์ (Ex situ)

119(1.2)การเปรียบเทียบพันธุ์เผือกเพื่อบริโภคสด

120(1)การทดสอบพันธุ์มันเทศเพื่อประกอบการรับรองพันธุ์

122(1)การคัดเลือกสายพันธุ์มันเทศอายุเก็บเกี่ยวสั้น

122(1.4)การพัฒนาแป้งผสมสำเร็จรูปที่ใช้ในผลิตภัณฑ์เบเกอรีเพื่อสุขภาพจากผลิตผลเกษตร

123(5.4)การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการให้น้ำเพื่อผลิตเห็ดตับเต่าเชิงพาณิชย์เขตภาคเหนือตอนบน

123(5.9)การปรับปรุงสายพันธุ์เห็ดภูฏานโดยการผสมพันธุ์ระหว่างเส้นใย นิวเคลียสคู่กับเส้นใยนิวเคลียสเดี่ยว

123(5.10)การเก็บรักษาเส้นใยเห็ดตีนแรด เห็ด Oudemansiella canarii และ เห็ดต่งฝนในน้ำกลั่นปลอดเชื้อ

123(5.11)การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดในป่าเต็งรังและป่าสนในเขตจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่และพัฒนาสู่การเพาะเห็ดชนิดที่รับประทานได้

123(5.12)การพัฒนาสูตรอาหารเพาะเห็ดแครงในภาคใต้

124(2.1)การบริหารจัดการศัตรูเห็ดโดยวิธีผสมผสาน

125(1.1)ศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเกิดดอกเห็ดไมตาเกะ

128()การทดสอบสายพันธุ์ลูกผสมมะเขือเทศรับประทานสดผลใหญ่ในแหล่งต่างๆ

128(1.1.1)การคัดเลือกพันธุ์มะเขือเทศรับประทานสดผลเล็กเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพในฤดูฝน

128(1.1.2)การทดสอบสายพันธุ์ลูกผสมมะเขือเทศรับประทานสดผลเล็กในแหล่งต่างๆ

128(1.2.1)การคัดเลือกพันธุ์มะเขือเทศรับประทานสดผลใหญ่เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพในฤดูฝน

128(1.3.1)การคัดเลือกพันธุ์มะเขือเทศต้านทานโรคเหี่ยวเขียวและการใช้เครื่องหมายโมเลกุลเพื่อคัดเลือกพันธุ์ต้านทาน

128(1.4.1)การเปรียบเทียบความต้านทานต่อโรคใบหงิกเหลืองในมะเขือเทศ

129(1.1)ระยะปลูกมะเขือเปราะ ปี 2558 v2

129(1.2)การใช้ปุ๋ยในการผลิตมะเขือเปราะ ปี 2558 v5

129(1.3)การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดหนอนเจาะผลมะเขือในการผลิตมะเขือเปราะเพื่อการส่งออก

129(2.1)การศึกษาระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตผักชีไทย ปี 2558

129(2.2)การศึกษาการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตผักชีไทย ปี 2558

129(2.3)การป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวในผักชีไทย ปี 2558

129(3.1)การศึกษาการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตมะระจีน

129(3.2)การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟในการผลิตมะระจีน

130(1)การรวบรวม และศึกษาลักษณะประจำพันธุ์และแนวทางการใช้ประโยชน์จากพืชวงศ์ Lamiaceae

130(2)การสร้างลูกผสมกะเพราแดงสำหรับใช้ประกอบอาหาร

130(3)การคัดเลือกพันธุ์แมงลักที่ให้ผลผลิตเมล็ดสูง

130(4)การคัดเลือกพันธุ์กะเพราที่ให้น้ำมันหอมระเหยสูง

130(5)การคัดเลือกพันธุ์ออริกาโนทนร้อน

131(1)การศึกษาเทคนิคทางสถิติเพื่อใช้เป็นมาตรฐานสำหรับแปลงทดลองมะเขือเทศ

131(2)การศึกษาเทคนิคทางสถิติเพื่อใช้เป็นมาตรฐานสำหรับแปลงทดลองคะน้า

131(3)การคึกษาเทคนิคทางสถิติเพื่อใช้เป็นมาตรฐานสำหรับแปลงทดลองถั่วฝักยาว

133(1.1)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของหอมแดง

133(1.2)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของกระเทียม

133(1.3)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของหอมหัวใหญ่

133(1.4)วิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันพริกขี้หนูภาคเหนือรองรับการเปิดตลาดอาเซียน

133(1.5)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของข้าวโพดฝักอ่อน

133(1.6)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของพริกชี้ฟ้า

133(1.7)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของผักกะหล่ำปลี

133(1.8)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของถั่วฝักยาว

133(2.1)วิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของหอมแดง

133(2.2)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของกระเทียม

133(2.2)เรื่องเต็ม_บริบทฯกระเทียม นครพนม ปีงบประมาณ 2558-14 มีค 59

133(2.6)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของขิง 57-58 ศวส เลย

133(2.8)(แก้ไข)การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของฟักทอง

134(1.1)การรวบรวมและคัดเลือกพันธุ์หน่อไม้ฝรั่ง

135(1.4) การเปรียบเทียบพันธุ์กระเจี๊ยบเขียวที่ต้านทานต่อโรคเส้นใบเหลืองและฝักมีคุณภาพส่งออก

135(1.5) การทดสอบพันธุ์กระเจี๊ยบเขียวในพื้นที่ภาคกลางและตะวันตก

137(1.1)วิจัยและพัฒนาพันธุ์ชากลุ่มพันธุ์ชาอัสสัมที่ให้ผลผลิตสูง และคุณภาพที่

137(2.1.1)การศึกษาช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับควบคุมทรงพุ่มชาอายุมาก_แก้ไขชื่อ_7 มิ.ย. 59

138(1.1.1)ทดสอบพันธุ์โกโก้ที่เหมาะสมสำหรับทำชอคโกแลต

138(1.1.1)เรืองเต็มโกโก้ 54-58อรวินทินี_20 กพ.59-1

138(1.1.2)รวบรวมและศึกษาพันธุ์โกโก้สายพันธุ์ต่างๆ

138(2.1.1)ศึกษาคุณภาพทางกายภาพ เคมี และการยอมรับทางประสาทสัมผัสของโกโก้สายพันธุ์ต่างๆที่เหมาะสมสำหรับทำชอคโกแลต

139(1.1)การเปรียบเทียบพันธุ์ชาน้ำมันพันธุ์การค้าจากต้นเพาะเมล็ดของประเทศจีน

139(1.2)การรวบรวมและคัดเลือกพันธุ์ชาสำหรับผลิตน้ำมันจากแหล่งต่างๆของประเทศไทยและสายพันธุ์จากต่างประเทศ

139(1.3)การคัดเลือและรวบรวมชาน้ำมันพันธุ์พื้นเมือง

139(2.1.2)การศึกษาการขยายพันธุ์ชาน้ำมันด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

139(2.3.1)การจัดการดินและปุ๋ยเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตชาน้ำมัน

139(2.4.1)การศึกษาการตัดแต่งเพื่อควบคุมทรงพุ่มชาน้ำมัน

140(1.1)ศึกษาและทดสอบพันธุ์องุ่นจากอาร์เมเนียเพื่อการปลูกในประเทศเขตร้อน

140(1.2)ศึกษาและทดสอบพันธุ์องุ่นจากโรมาเนียเพื่อการปลูกในประเทศเขตร้อน

140(1.3)การรวบรวมและอนุรักษ์พันธุ์องุ่นเพื่อใช้เป็นต้นตอ

140(1.4)สำรวจ รวบรวมและจำแนกเชื้อราสาเหตุโรคองุ่น สายพันธุ์องุ่นจากต่างประเทศ เพื่อการปลูกในประเทศเขตร้อน

141(1)การศึกษาการเจริญเติบโตขององุ่นทานสดสายพันธุ์ญี่ปุ่นในประเทศไทย

143(1)การเคลือบสารบริโภคได้เพื่อยืดอายุกระเทียมสดพร้อมบริโภค (แก้ไข)

144(1.1)(แก้ไข)การทดสอบเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินในหอมแดงพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์

144(1.2)(แก้ไข)การทดสอบเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินในหอมแดงพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์

144(1.3)การทดสอบเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินในหอมแดงพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์

144(2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพันธุ์หอมแดงสะอาดในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ

144(2.2)(แก้ไข)การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดศัตรูหอมแดงในพื้นที่ จังหวัดยโสธร

147(1.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานเพื่อแก้ปัญหาโรคแอนแทรคโนสของพริกพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ

147(1.2)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานเพื่อแก้ปัญหาโรคแอนแทรคโนสและโรครากเน่าโคนเน่าของพริกพื้นที่จังหวัดเลย

147(1.3)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานเพื่อแก้ปัญหาโรคแอนแทรคโนสของพริกพื้นที่จังหวัดสกลนคร

147(1.4)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานเพื่อแก้ปัญหาโรคเหี่ยวและหนอนเจาะผลพริกในพื้นที่จังหวัดหนองคาย

147(1.5)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานเพื่อแก้ปัญหาแมลงศัตรูพริกและโรคแอนแทรคโนสของพริกพื้นที่จังหวัดขอนแก่น

147(1.6)การศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

148(1.1.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานในฤดูแล้งจังหวัดอุบลราชธานี

148(1.1.2)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานในฤดูแล้งจังหวัดศรีสะเกษ

148(1.1.3)(แก้ไข)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานในฤดูแล้งจังหวัดร้อยเอ็ด

148(1.1.4)(แก้ไข) การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดศัตรูพริกแบบผสมผสานในฤดูแล้ง จังหวัดอำนาจเจริญ

148(1.2.1)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานในฤดูฝนจังหวัดอุบลราชธานี

148(1.2.2)(แก้ไข)ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบผสมผสานในฤดูฝนจังหวัดนครราชสีมา

149(1.1)ปรับปรุงพันธุ์ฟักทองบริโภคผลสด

149(2.1)การปรับปรุงพันธุ์ฟักทองฟักทองบริโภคเมล็ด

150(1.7)(แก้ไข)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมะเขือเปราะให้ปลอดภัยจาก สารพิษและจุลินทรีย์ ในจังหวัดนนทบุรี

150(1.8)(แก้ไข)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมะระจีนให้ปลอดภัยจากสารพิษและจุลินทรีย์ ในจังหวัดราชบุรี

150(3.1)ทดสอบการปลูกมะเขือเปราะในสภาพแปลงปลูกกับโรงเรือนกางมุ้งให้ ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง เชื้อจุลินทรีย์ และแมลงศัตรูพืช จังหวัดราชบุรี

150(3.2)(แก้ไข)ทดสอบการปลูกถั่วฝักยาวในสภาพแปลงปลูกกับโรงเรือนกางมุ้งให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง เชื้อจุลินทรีย์ และแมลงศัตรูพืช จังหวัดราชบุรี

151(1.1)การเปรียบเทียบพันธุ์และทดสอบเทคโนโลยีการผลิตทับทิม

151(1.2)(แก้ไข)รวบรวมพันธุ์และคัดเลือกสายต้นพันธุ์ทับทิมจากแหล่งต่างๆ

152(1.1.1) มะกอกอียิปต์

152(1.1.2)ศึกษาและทดสอบพันธุ์มะกอกน้ำมันในระดับความสูงต่างกัน

153(1)การเปรียบเทียบพันธุ์มะขามเปรี้ยวในท้องถิ่น

153(2)การคัดเลือกสายต้นมะขามเปรี้ยวเนื้อสีแดง

154(1.1.1)คัดเลือกพันธุ์กล้วยไข่ที่กลายพันธุ์จากการฉายรังสี

154(1.4.1)การศึกษาศักยภาพการผลิตกล้วยไข่เชิงการค้าในจังหวัดหนองคาย

154(1.4.2)(แก้ไข)การศึกษาศักยภาพการผลิตกล้วยไข่เชิงการค้าในจังหวัดนครพนม

154(1.4.3)การศึกษาศักยภาพการผลิตกล้วยไข่เชิงการค้าในจังหวัดชัยภูมิ

154(1.4.4)การศึกษาศักยภาพการผลิตกล้วยไข่เชิงการค้าในจังหวัดมุกดาหาร

154(2.1.1)ปรับปรุงพันธุ์กล้วยหอมทองโดยการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์โดยรังสีแกมมาร่วมกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

154(2.2.1)(แก้ไข)การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตกล้วยคุณภาพเพื่อการส่งออกในจังหวัดปทุมธานี

155(1.1.2)ศึกษาคุณภาพและการใช้ประโยชน์จากกล้วยพันธุ์ต่าง ๆ

155(2.1.1)การศึกษาคุณค่าทางโภชนาการและการยืดอายุการการเก็บรักษาของกล้วยหอมและกล้วยไข่ในขั้นตอนเตรียมวัตถุดิบก่อนการแปรรูปเป็นเครื่องดื่มสุขภาพ

157(1.1)เรื่องเต็มการทดสอบพันธุ์มะคาเดเมียในแหล่งต่างๆภูเรือ

157(1.2)การทดสอบพันธุ์มะคาเดเมียในภาคอีสานตอนล่างและภาคเหนือตอนล่าง

157(2.1)การอนุรักษ์และศึกษาเชื้อพันธุกรรมมะคาเดเมีย

158(1.1)การรวบรวมและศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ไผ่เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์

158(1.2)(แก้ไข)ศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของไผ่

158(1.2)การเจริญของไผ่1 ส่งเชียงใหม่3 กย59

159(1.2)การศึกษารูปแบบการให้น้ำและวัสดุคลุมที่เหมาะสมในการผลิตหน่อไม้นอกฤดู

159(1.1)การศึกษาระยะปลูกการไว้ลำและวัสดุคลุมที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิต และคุณภาพไผ่พันธุ์ลี่จู

159(1.2)การศึกษารูปแบบการให้น้ำและวัสดุคลุมที่เหมาะสมในการผลิตหน่อไม้นอกฤดู

159(1.3)การศึกษาการไว้ลำเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพไผ่พันธุ์ตงลืมแล้ง หม่าจู กิ่มซุง และเลี้ยงหวาน

162(1)การศึกษาชนิดของสารเคลือบผิวที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางคุณภาพของผลสละ

162(2)ศึกษาการใช้กรดอินทรีย์เพื่อควบคุมโรคของสละภายหลังการเก็บเกี่ยว

163(1.1.1)การทดสอบพันธุ์มะเดื่อฝรั่ง

164(1.1.1)การใช้ปัจจัยการผลิตไม้ผล รวมถึงผลตอบแทนที่ได้รับในระบบการผลิตในเขตอำเภอสามพราน และนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

165(1.1.1) การสำรวจ รวบรวม และจำแนกลักษณะทางพันธุกรรมของสตรอเบอรี่

165(1.2.2)การทดสอบพันธุ์สตรอว์เบอร์รีที่นำเข้าจากต่างประเทศ

165(1.2.3)การทดสอบพันธุ์สตรอว์เบอร์รีในเขตภาคเหนือตอนล่าง

165(2.1.1)อิทธิพลของกรดจิบเบอเรลลิค (GA3) ที่มีผลต่อการเพิ่มปริมาณไหลของสตรอเบอร์รี่

165(2.1.2)ศึกษาช่วงเวลาปลูกเพื่อเพิ่มปริมาณไหลของสตรอเบอรีในเขตที่สูงภาคเหนือตอนล่าง

165(2.1.1)อิทธิพลของกรดจิบเบอเรลลิค (GA3) ที่มีผลต่อการเพิ่มปริมาณไหลของสตรอเบอร์รี่

165(2.1.2)ศึกษาช่วงเวลาปลูกเพื่อเพิ่มปริมาณไหลของสตรอเบอรีในเขตที่สูงภาคเหนือตอนล่าง

165(2.2.1)ศึกษาวัสดุปลูกสำหรับการปลูกสตรอว์เบอร์รีแบบยกพื้นสูงเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตในเขตที่สูงภาคเหนือตอนล่าง

166(1.1)การศึกษาและจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของฝรั่งในแปลงรวบรวมพันธุ์

168(1.2)คัดเลือกสายต้นมะขามป้อมพันธุ์ดีที่มีผลใหญ่และสารสำคัญสูงในภาคเหนือตอนล่าง

168(1.3)คัดเลือกสายต้นมะขามป้อมพันธุ์ดีที่มีผลใหญ่และสารสำคัญสูงในภาคตะวันตก

169(1.1)การรวบรวมและคัดเลือกสายต้นมะเกี๋ยงในจังหวัดลำปาง

169(1.2)การรวบรวมและคัดเลือกสายพันธุ์มะเกี๋ยงในจังหวัดเชียงราย

169(2.1)การเปรียบเทียบพันธุ์มะเกี๋ยง

170(1.1)คัดเลือกพันธุ์มะไฟจีนสำหรับการแปรรูปและบริโภคสด

170(2.2)พัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่จากมะไฟจีน

170(2.3)ทดสอบเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์มะไฟจีน

170(2.4)พัฒนาเครื่องลดความชื้นสำหรับผลิตภัณฑ์มะไฟจีนอบแห้ง

171(1.1)การสร้างลูกผสมว่านสี่ทิศ

172(1.1)รวบรวมและศึกษาพันธุ์อินทผลัมสายพันธุ์ต่าง ๆ ที่ปลูก ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน

173(1.1)การรวบรวมและศึกษาพันธุ์ส้มเกลี้ยง

174(1.1)ผลของระยะปลูกที่มีต่อการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตห้อม

174(1.2)(แก้ไข)ศึกษาอายุการเก็บเกี่ยวห้อมที่เหมาะสมในการผลิตเนื้อห้อมให้มีคุณภาพ

174(1.3)ผลของการตัดแต่งกิ่งที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตห้อม

174(1.4)ระดับความเข้มแสงที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของห้อม

174(1.5)ช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการเก็บใบห้อมเพื่อผลิตเนื้อห้อม

174(1.6)การทดสอบและขยายผลเทคโนโลยีการผลิตห้อมโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม

175(1.1)ศึกษาเปรียบเทียบพันธุ์มะปรางหวานเพื่อการค้า

175(1.2)ศึกษาเปรียบเทียบพันธุ์มะยงชิดเพื่อการค้า

175(1.3)การคัดเลือกพันธุ์มะปรางและมะยงชิดโดยชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ด้วยการฉายรังสี

175(2.1)การศึกษาระยะปลูกและวิธีการตัดแต่งกิ่งที่เหมาะสมของมะปราง

175(2.2)ศึกษาการจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตมะปรางให้มีคุณภาพ

175(2.3)ศึกษาการจัดการน้ำในช่วงติดดอกออกผล เพื่อผลิตมะปรางให้มีคุณภาพ

175(2.4)การใช้สารน้ำมันและสารเคมีควบคุมเพลี้ยไฟในมะปราง

176(1.1.1)การศึกษาการไว้หน่อที่เหมาะสมในการปลูกกล้วยตานีในเชิงพาณิชย์

176(1.1.2)การศึกษาการจัดการปุ๋ยและการให้น้ำที่เหมาะสมในการปลูกกล้วยตานีในเชิงพาณิชย์

177(1.1.1)(แก้ไข)รวบรวมและคัดเลือกสายต้นพันธุ์ละมุด

177(1.1.2)(แก้ไข)ศึกษาวิธีการตัดแต่งทรงพุ่มที่เหมาะสมในการผลิตละมุดให้มีคุณภาพ

177(1.1.3)(แก้ไข)ศึกษาการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตละมุดให้มีคุณภาพ

177(1.1.4)(แก้ไข)ศึกษาการจัดการน้ำในช่วงออกดอกติดผลที่เหมาะสมในการผลิตละมุดให้มีคุณภาพ

178(รวม5การทดลอง)เรื่องเต็มบัวเข็มแยก5กลส่งกผง.

179(1.1)การคัดเลือกสายต้นมะกรูดจากแหล่งต่างๆ ที่ให้ผลผลิตสูง

179(2.1)ศึกษาต้นตอที่เหมาะสมในการผลิตมะกรูดเชิงพาณิชย์

179(2.2)การศึกษาการจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตมะกรูดเชิงพาณิชย์

180(1.1)แก้ไข(1)เรื่องเต็มคัดเลือกสายต้นชาโยเต้ 2558

183(2)การสำรวจแมลงศัตรูละมุด

184(1.1)การสำรวจ รวบรวม และศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของมะเม่าในเขตเทือกเขาภูพาน

184(1.2)การจัดชั้นมาตรฐานคุณภาพของหมากเม่า

184(1.3)การจัดทำแผนที่แสดงแหล่งปลูกมะเม่า

184(1.4)ระบบฐานข้อมูลการผลิตหมากเม่า

184(2.1)ผลของการให้น้ำแบบละอองหมอกต่อการติดผลของมะเม่า

184(3.1)การพัฒนาชุดเทคโนโลยีการแปรรูปน้ำหมากเม่าพร้อมดื่มเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ให้เป็นสินค้า

185(1)ศึกษาอิทธิพลของปุ๋ยต่อการเพิ่มปริมาณผลผลิตครามพันธุ์ฝักตรงและฝักงอ

185(2)ศึกษาระยะปลูกที่เหมาะสมต่อการเพิ่มปริมาณผลผลิตในครามพันธุ์ฝักตรง

186(1)การรวบรวม และคัดเลือกพันธุ์หวายให้ผลผลิตและคุณภาพหน่อสูงจังหวัดสกลนคร

186(2)ศึกษาการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพหน่อหวายจังหวัดสกล

187(1.1)การกระจายการผลิตชมพู่เพชรสายรุ้งให้ออกผลตลอดปี

187(1.2)การผลิตชมพู่เพชรสายรุ้งให้มีคุณภาพดี

187(2.1.1)การใช้สารป้องกันกำจัดโรคผลเน่าในชมพู่

188(1.1.1)การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตสับปะรดพันธุ์ตราดสีทองในพื้นที่จังหวัดตราด

189(1)วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มจี๊ดที่เหมาะสมในพื้นที่ภาคตะวันออก

190(1.3)เทคโนโลยีการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูแก้วมังกร

190(2.1)การศึกษาประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคลำต้นแผลจุดสีน้ำตาลและผลเน่าของแก้วมังกร

191(1.1)ศึกษาวิจัยการจัดทำแปลงสำรองในสภาพแปลงปลูก

191(1.2)การจัดการโรคและแมลงศัตรูสำรองและการป้องกันกำจัด

191(1.3)เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวลูกสำรอง

191(1.4)การแปรรูปและการใช้ประโยชน์ผลสำรอง

192(1.2)เปรียบเทียบพันธุ์จำปาดะในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

192(1.3)การรวบรวมและศึกษาพันธุ์ของจำปาดะในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

193(1.2)การเปรียบเทียบพันธุ์จันทน์เทศในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

194(1.2)เปรียบเทียบพันธุ์ส้มแขกในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

194(1.3)(นราธิวาส)ศึกษาปริมาณสารสำคัญในส้มแขกในพื้นที่ภาคใต้

194(1.3)(ยะลา)ศึกษาปริมาณสารสำคัญในส้มแขกในพื้นที่ภาคใต้

194(3.1)ศึกษาเทคโนโลยีการจัดการทรงพุ่มส้มแขกในพื้นที่ภาคใต้

197(1.1.1)ทดสอบวัสดุห่อผลที่เหมาะสมในการผลิตลองกองคุณภาพจังหวัดสงขลา

197(1.1.2)(แก้ไข)ทดสอบวัสดุห่อผลที่เหมาะสมในการผลิตลองกองคุณภาพ จ.สตูล (สวพ.8)

197(3.1)พัฒนาและทดสอบเทคโนโลยีการกำจัดเพลี้ยไฟในมังคุดให้มีคุณภาพในระบบปลูกสวนเดี่ยวและสวนผสมพื้นที่จังหวัดสงขลา

198(1.1)ทดสอบการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีในการผลิตพริกในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

198(2.1.1)ศึกษาการระบาดของศัตรูพริกภายใต้ความแปรปรวนของสภาวะภูมิอากาศในพื้นที่จังหวัดพัทลุง

198(2.1.2)ศึกษาการระบาดของศัตรูพริกภายใต้ความแปรปรวนของสภาวะภูมิอากาศในพื้นที่จังหวัดสงขลา

201(2.1.1)การเปรียบเทียบในท้องถิ่น พันธุ์ถั่วหรั่งอายุปานกลางในสภาพดีที่เหมาะสมนอกพื้นที่ภาคใต้

201(2.1.3)การเปรียบเทียบมาตรฐาน สายพันธุ์ถั่วหรั่งที่ได้จากการผสมข้ามพันธุ์ชุดที่1

202(2.1)การศึกษาองค์ประกอบทางเคมี และคุณภาพแป้งมันขี้หนู

202(2.2)การศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแป้งมันขี้หนูระดับอุตสาหกรรม

198(2.1.3)ศึกษาการระบาดของศัตรูพริกภายใต้ความแปรปรวนของสภาวะภูมิอากาศในพื้นที่จังหวัดตรัง

203(1.2)การศึกษาและพัฒนาคู่มือการตรวจรับรองการผลิตพืชอิ นทรีย์ให้สอดคล้องกับ(สุวิภา คำแหง)

203(2.1)การศึกษาและพัฒนาคู่มือการตรวจรับรองแหล่งผลิต GAP พืชให้สอดคล้องกับ(คณพศ โกสินทร์วิกรม)

203(2.2)การศึกษาและพัฒนาคู่มือการตรวจรับรองการผลิตพืชอินทรีย์ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ASEAN Standards for Organic Agriculture

204(2.1.2)ทดสอบรูปแบบการปลูกพืชร่วมในระบบการปลูกผักกาดขาวอินทรีย์เพื่อป้องกันกำจัดหนอนใยผักในจังหวัดเชียงใหม่

204(2.1.3)การทดสอบรูปแบบการปลูกพืชร่วมในการปลูกกะเพรา โหระพา แมงลักอินทรีย์เพื่อป้องกันกำจัดเพลี้ยอ่อนและหนอนม้วนใบ ในจังหวัดพิจิตร

204(2.1.4)การทดสอบรูปแบบการปลูกพืชร่วมในการปลูกมะเขือเทศอินทรีย์เพื่อป้องกันกำจัดหนอนเจาะสมอฝ้าย ในจังหวัดอำนาจเจริญ

204(2.1.5)ทดสอบรูปแบบการปลูกพืชร่วมในการปลูกข้าวโพดอินทรีย์ เพื่อป้องกันกำจัดหนอนเจาะฝักข้าวโพดในจังหวัดนครราชสีมา

204(3.1.2)ศึกษารูปแบบการป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสานในระบบการผลิตไม้ผลอินทรีย์ภาคกลาง

204(3.1.3)ศึกษารูปแบบการป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสานในระบบการผลิตพืชผักอินทรีย์ภาคเหนือตอนบน

204(3.1.4)ศึกษารูปแบบการป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสานในระบบการผลิตกะเพรา โหระพา แมงลักอินทรีย์ภาคเหนือตอนล่าง

204(3.1.5)ศึกษารูปแบบการป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสานในระบบการผลิตพืชผักอินทรีย์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

204(3.1.6)ศึกษารูปแบบการป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสานในระบบการปลูกพืชไร่อินทรีย์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

204(4.1.1)อิทธิพลของระบบการจัดการดินและปุ๋ยในการผลิตพืชอินทรีย์กรณีฝรั่งเป็นพืชหลัก

204(4.1.2)อิทธิพลของการจัดการดินและปุ๋ยในการผลิตแก้วมังกรอินทรีย์ในจังหวัดนครปฐม

213(1.2.1)ระบบพืชทางเลือกทดแทนพื้นที่ปลูกข้าวโพดเชิงเดี่ยวเขตที่ดอนอาศัยน้ำฝนจังหวัดพะเยา

213(2.1.1) การศึกษาระบบการปลูกพืชเพื่อทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ดอนเขตใช้น้ำฝน จ.ตาก

213(1.2.1)ระบบพืชทางเลือกทดแทนพื้นที่ปลูกข้าวโพดเชิงเดี่ยวเขตที่ดอนอาศัยน้ำฝนจังหวัดพะเยา

213(2.1.1) การศึกษาระบบการปลูกพืชเพื่อทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ดอนเขตใช้น้ำฝน จ.ตาก

213(2.1.2) การศึกษาระบบการปลูกพืชที่มีข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นพืชหลักในพื้นที่ดอนเขตใช้น้ำฝนจังหวัดสุโขทัย

213(2.1.3)การศึกษาระบบการปลูกพืชที่มีมะม่วงเป็นพืชหลักเพื่อทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ดอนเขตใช้น้ำฝนจังหวัดอุตรดิตถ์

213(2.1.4) การศึกษาระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานในพื้นที่ดอนเขตใช้น้ำฝน จ.พิษณุโลก

213(2.2.1)การศึกษาระบบการปลูกพืชที่มีข้าวโพดเป็นพืชหลักในพื้นที่ลาดชันเขตใช้น้ำฝน จ.เพชรบูรณ์

213(2.2.2) การศึกษาระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานในพื้นที่ลาดชันเขตใช้น้ำฝน จ.เพชรบูรณ์

213(2.3.1)การศึกษาระบบการปลูกพืชทีมีกาแฟอาราบิก้าเป็นพืชหลักเพื่อทดแทนกะหล่ำปลีในพื้นที่สูงเขตใช้น้ำฝนภาคเหนือตอนล่างจังหวัดเพชรบูรณ์

213(3.1.1)วิจัยและพัฒนาระบบการปลูกพืชหลังการเก็บเกี่ยวข้าวในพื้นที่นาเขตใช้น้ำฝนจังหวัดนครพนม

213(3.1.2)การพัฒนาระบบการปลูกข้าวโพดหลังการเก็บเกี่ยวข้าวในสภาพนาดอนจังหวัดขอนแก่น

213(3.1.3)การพัฒนาระบบการปลูกมันเทศอายุสั้นหลังการเก็บเกี่ยวข้าวในสภาพนาดอนจังหวัดขอนแก่น

213(3.2.1)การพัฒนาระบบการปลูกพืชเพื่อแก้ปัญหาโรครากปมของมะเขือเทศในสภาพพื้นที่ดอนจังหวัดขอนแก่น

213(4.1.2)เรื่องเต็มปี 58 พืชหลังนาน้ำใต้ดินตื้นจ.สุรินทร์ (2)

213(4.1.2)เรื่องเต็มปี 58 พืชหลังนาน้ำใต้ดินตื้นจ.สุรินทร์

213(4.1.3)การวิจัยและพัฒนาระบบการปลูกพืชอย่างยั่งยืนในรูปแบบเกษตรผสมผสานในพื้นที่ปลูกข้าวเขตใช้น้ำฝน จังหวัดอุบลราชธานี

213(4.2.1)การวิจัยและพัฒนาระบบการปลูกพืชอย่างยั่งยืนในรูปแบบเกษตรผสมผสานในพื้นที่ไร่เขตใช้น้ำฝน จังหวัดร้อยเอ็ด

213(4.3.1)วิจัยและพัฒนาระบบการปลูกพืชอย่างยั่งยืนในพื้นที่ปลูกยางพารา จังหวัดอำนาจเจริญ

213(5.1.1.1)การทดสอบระบบการปลูกพืช ข้าว-ถั่วเหลืองฝักสด ในพื้นที่ของเกษตรกร

213(5.1.1.2)การทดสอบระบบการปลูกพืช ข้าว-ถั่วเขียว ในพื้นที่ของเกษตรกร

213(5.1.1.3)การทดสอบระบบการปลูกพืช ข้าว-ข้าวโพดเทียน ในพื้นที่ของเกษตรกร

213(5.1.2.1)รายงงานเรื่องเต็ม ข้าว- ถั่วเหลืองฝักสด เด่นใหญ่

213(5.1.2.2)รายงงานเรื่องเต็ม ข้าว- ถั่วเขียว เด่นใหญ่

213(5.1.2.3)การทดสอบระบบการปลูกพืช ข้าว-ข้าวโพดเทียน ในพื้นที่ของเกษตรกร

213(5.1.2.4)รายงงานเรื่องเต็ม ข้าว- ข้าวโพดฝักสด เด่นใหญ่

213(5.1.3)ทดสอบระบบการปลูกข้าว – ข้าวโพดฝักสด จังหวัดนครสวรรค์

213(5.1.4)ทดสอบระบบการปลูกข้าว – ถั่วลิสง จังหวัดนครสวรรค์

213(6.1.1)การจัดการระบบการผลิตปาล์มน้ำมันแบบครบวงจรอย่างยั่งยืน

213(7.2.1)ทดสอบและพัฒนาต้นแบบระบบการผลิตพืชภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดพัทลุง

213(7.2.1)วิจัยและพัฒนาระบบการปลูกพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนต้นแบบในจังหวัดพัทลุง

213(7.2.2)ทดสอบและพัฒนาต้นแบบระบบการผลิตพืชภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดปัตตานี

213(7.2.3)ทดสอบและพัฒนาต้นแบบระบบการผลิตพืชภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงใน จ.ยะลา

213(7.2.4)(ล่าสุด)รายงานเรื่องเต็มระบบเกษตร ศวพ.นราธิวาส (1)

213(7.2.5)ทดสอบและพัฒนาต้นแบบระบบการผลิตพืชภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียงในจังหวัดตรัง

213(7.2.6)(แก้ไข)ทดสอบและพัฒนาต้นแบบระบบการผลิตพืชภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา

213(7.2.7)(แก้ไข)ทดสอบและพัฒนาต้นแบบระบบการผลิตพืชภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสตูล

214 (พิจิตร อยู่กับ2.1.1)ระบบปลูกข้าว

214(1.1)การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้เหมาะสมกับแบบแผนการปลูกพืชต่อเนื่องในระบบ ข้าว – ถั่วเหลือง – ถั่วลิสง จังหวัดเชียงใหม่

214(1.2)วิจัยทดสอบและพัฒนาเครื่องมือการเกษตรขนาดเล็กใช้แรงงานคนในระบบ ข้าว – ถั่วเหลือง – ถั่วลิสง จ.เชียงใหม่

214(2.1)วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อลดต้นทุนในระบบ ข้าว – ถั่วเหลือง

214(2.1.1)การศึกษาระบบการปลูกพืชที่มีข้าวเป็นพืชหลักในพื้นที่นาเขตชลประทานจังหวัดพิษณุโลก

214(2.2)วิจัยและพัฒนาเพื่อการเพิ่มผลผลิตในระบบ ข้าว – ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ.แพร่

214(2.3)วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตในระบบการปลูกพืชพื้นที่ชลประทาน จ.ลำปาง

214(3.1)การผลิตหัวพันธุ์มันฝรั่งใช้เอง ปี54-58. ของ ศวพ ชม

214(3.1)วิจัยและพัฒนาการผลิตหัวพันธุ์มันฝรั่งใช้เองในระบบข้าว-มันฝรั่ง จ.เชียงใหม่

214(3.1.1.1)ทดสอบระบบปลูกพืชในพื้นที่ชลประทานสูบน้ำด้วยไฟฟ้านาตับเต่า ตำบลซับสมบูรณ์ อำเภอโคกโพธิ์ชัย จังหวัดขอนแก่น

214(3.1.1.2)การขยายผลการทดสอบระบบการปลูกพืชพื้นที่ชลประทานสูบน้ำด้วยไฟฟ้า อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

214(3.2)วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตในระบบข้าว – พืชผัก – พืชผัก

214(3.2.1)การพัฒนาระบบการปลูกถั่วลิสงหลังการเก็บเกี่ยวข้าวในพื้นที่นาชลประทานจังหวัดขอนแก่น

214(3.2.2)การพัฒนารูปแบบการปลูกถั่วลิสงหลังการเก็บเกี่ยวข้าวในพื้นที่ชลประทานจังหวัดชัยภูมิ

214(3.2.3)การพัฒนาระบบการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในสภาพนาจังหวัดนครพนม

214(3.2.4)การพัฒนาระบบการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในสภาพนาจังหวัดอุดรธานี

214(3.3.1)วิจัยเพื่อพัฒนาระบบการผลิตข้าวโพดฝักสดในพื้นที่ราบริมน้ำโขงจังหวัดนครพนม

214(3.3.2)วิจัยพัฒนาระบบการผลิตมะเขือเทศในพื้นที่ราบริมน้ำโขงจังหวัดนครพนม

214(4.1.1)การทดสอบระบบการปลูกพืชหลังนาในเขตชลประทาน จังหวัดอำนาจเจริญ

214(4.1.2)การทดสอบระบบการปลูกพืชหลังนาในพื้นที่ชลประทานจังหวัดมหาสารคาม

214(5.1.1)การทดสอบระบบการปลูกพืช ข้าว-ข้าวโพดฝักสดในพื้นที่เกษตรกร

214(5.1.2)การทดสอบระบบการปลูกพืช ข้าว-ถั่วเขียว ในพื้นที่เกษตรกร

214(5.1.3)การทดสอบระบบการปลูกพืช ข้าว-ถั่วเหลืองฝักสด ในพื้นที่เกษตรกร

214(5.2.1)การทดสอบระบบการปลูกพืช ข้าว-ข้าวโพดฝักสดในพื้นที่เกษตรกร

214(5.2.2)การทดสอบระบบการปลูกพืช ข้าว-ถั่วเขียว ในพื้นที่เกษตรกร

214(5.3.1)ทดสอบระบบการปลูกพืชข้าว-ข้าวโพดฝักสด ในพื้นที่เกษตรกร

214(5.4.1)ทดสอบระบบปลูกพืชข้าว-ถั่วลิสง ในพื้นที่เกษตรกร

214(6.1)การศึกษาระบบการผลิตกล้วยไข่แซมระหว่างแถวในแปลงไม้ผลปลูกใหม่ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี

214(6.2)การศึกษาผลของการปลูกพืชแซมไผ่ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี

215(1.1.2)ศึกษาระบบการปลูกพืชอย่างยั่งยืนในพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มในภูมิภาคต่างๆ

215(2.1.2) location จ.พัทลุง ระบบการปลูกพืชน้ำท่วมซ้ำซาก

215(2.1.2)ศึกษาระบบการปลูกพืชอย่างยั่งยืนในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมซ้ำซากในภูมิภาคต่างๆ

215(2.2.2)ศึกษาระบบการปลูกพืชอย่างยั่งยืนในพื้นที่รับน้ำภาคกลาง

215(2.3.2)การทดสอบเทคโนโลยีการสร้างสวนส้มโอพันธุ์ท้องถิ่นจังหวัดชัยนาท

215(2.3.4)การทดสอบเทคโนโลยีการสร้างสวนส้มโอพันธุ์ท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม

215(2.3.5)(แก้ไข)ทดสอบเทคโนโลยีการสร้างสวนทุเรียนพันธุ์ท้องถิ่นจังหวัดนนทบุรี

215(2.4.3)การประยุกต์ใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการจัดการระบบการผลิตพืชที่มีข้าวเป็นพืชหลักในพื้นที่รับน้ำภาคกลาง

215(3.2.1)(ใช้)การศึกษาระบบการผลิตพืชชุ่มน้ำในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส

215(3.2.2)การทดสอบและพัฒนาการผลิตพืชชุ่มน้ำในพื้นที่จังหวัดยะลา

215(3.2.3)(แก้ไข)การศึกษาระบบการผลิตพืชชุ่มน้ำในพื้นที่จังหวัดสงขลา

215(3.2.4)ศึกษาระบบการผลิตพืชชุ่มน้ำในพื้นที่จังหวัดพัทลุง

215(3.2.5)การทดสอบและพัฒนาระบบการผลิตพืชชุ่มน้ำในพื้นที่จังหวัดตรัง

215(3.3.1)การรวบรวมพันธุ์บัวหลวงในพื้นที่ชุ่มน้ำภาคใต้ตอนล่าง

215(3.3.2)การเปรียบเทียบศักยภาพของพันธุ์บัวหลวงในพื้นที่ชุ่มน้ำภาคใต้ตอนล่าง

216(1.1.1)เทคโนโลยีการผลิตขยายและการใช้แตนเบียนสกุล Encarsia เพื่อควบคุมแมลงหวี่ขาว

216(1.2.2)พัฒนาการเพาะเลี้ยงด้วงเต่า Cryptolaemus montrouzieri Mulsant เป็นปริมาณมากเพื่อควบคุมเพลี้ยแป้ง

216(1.2.3)ผลของอุณหภูมิที่มีต่อการเจริญเติบโตของระยะไข่ และระยะดักแด้ของแมลงช้างปีกใส Plesiochrysa ramburi Schneider (Neuroptera Chrysopidae)

216(1.2.4)ชนิดและประสิทธิภาพการกินของด้วงเต่าตัวห้ำ Stethorus spp.ศัตรูธรรมชาติของไรศัตรูพืชบนมันสำปะหลังและมะนาว

216(1.2.4)ผลของไส้เดือนฝอย Steinernema carpocapsae และเชื้อราบิวเวอเรีย Beauveria bassiana ต่อแมลงช้างปีกใส Plesiochrysa ramburi Schneider ระยะต่างๆ

216(2.1.1)การเพิ่มประสิทธิภาพของไวรัส เอ็นพีวี ต่อแสงยูวีด้วยเทคนิค Starch encapsulation

216(2.1.2)การพัฒนารูปแบบชีวผลิตภัณฑ์ไวรัส เอ็นพีวี สำเร็จรูปเพื่อกำจัดหนอนกระทู้หอม

216(2.2.2)การทดสอบประสิทธิภาพเชื้อ Bacillus thuringiensis ไอโซเลทต่างๆ ในการควบคุม หนอนผีเสื้อศัตรูพืช

216(2.3.1)(แก้ไข)การศึกษาวิธีการเลี้ยงเพิ่มปริมาณเชื้อรา Beauveria bassiana (Balsamo) สายพันธุ์ชุมพร

216(2.3.2)(แก้ไข)ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงบางชนิดในการควบคุมแมลงหวี่ขาว (white fly)

216(2.4.1)เทคนิคการผลิตขยายไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง Steinernema riobrave

216(2.4.2)วิจัยและพัฒนาการผลิตขยายไส้เดือนฝอย Steinernema glaseri เพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช

216(2.4.3)การทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ไส้เดือนฝอย Steinernema carpocapsae สูตรผงในการควบคุมแมลงศัตรูพืช

216(2.4.4)ปัจจัยที่มีผลต่อการมีชีวิตรอดและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ไส้เดือนฝอย Steinernema carpocapsae ชนิดผง

216(2.4.5)เทคนิคการเก็บรักษาต้นเชื้อไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง และแบคทีเรียร่วมอาศัยด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการ Cryopreservation

216(3.1.1)การพัฒนาผลิตภัณฑ์ Bacillus subtilis สายพันธุ์ DOA-WB4 แบบผงเพื่อควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียของมันฝรั่ง

216(3.1.2)การพัฒนาผลิตภัณฑ์Bacillus subtilis สายพันธุ์ ดินรากยาสูบNo. 4 แบบเม็ดเพื่อควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียของขิง

216(3.1.3)การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ Bacillus subtilis เพื่อใช้ควบคุมเชื้อราAlternaria brassicicola

216(3.2.1)การทดสอบประสิทธิภาพของ Bacillus spp. ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสพริก สาเหตุจากเชื้อรา Colletrotrichum gloeosporioides

216(3.2.2)การทดสอบประสิทธิภาพแบคทีเรีย Bacillus subtilis ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Colletotrichum capsici (Syd. & P. Syd.) E.J. Butl. & Bisby สาเหตุโรคแอนแทรคโนสพริก

216(3.2.3)การควบคุมโรคเหี่ยวเขียวของพริกโดยแบคทีเรีย Bacillus subtilis

216(3.3.1)การคัดเลือกและทดสอบเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ที่มีศักยภาพในการควบคุมเชื้อรา Didymella bryoniaeสาเหตุโรคยางไหลในสภาพแปลงทดลอง

216(3.3.3)การศึกษาการป้องกันกำจัดเชื้อ Rhizoctonia solani โดยชีววิธี

216(3.3.4)การควบคุมโรคใบจุดสีน้ำตาลของกล้วยไม้ด้วยเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์

216(3.3.5)การคัดเลือกและทดสอบประสิทธิภาพของแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมแบคทีเรีย Burkholderia gladioli สาเหตุโรคเน่าสีน้ำตาลของกล้วยไม้

216(3.4.1)การคัดเลือกแบคทีเรีย Pasteuria penetrans ที่มีศักยภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne spp.

216(3.4.2)การคัดเลือกแบคทีเรีย Pasteuria spp. ที่มีศักยภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอยเรนิฟอร์ม Rotylenchulus spp

216(3.5.3)การคัดเลือกเชื้อรา Trichoderma harzianumที่มีศักยภาพ ในการควบคุมโรคใบจุดคะน้าสาเหตุจากเชื้อรา Alternaria brassicicola

216(4.1.2)การสำรวจปรสิตในหอยวงศ์ Ariophantidae

217(1.1.1)การทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดเพลี้ยหอย; Aulacaspis sp. ในทุเรียน

217(1.1.2)การทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งExallomochlus hispidus(Morrison)ในลองกอง

217(1.1.3)(แก้ไข)ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดหนอนเจาะขั้วผล (Fruit borer); Conopomorpha sinensis Bradley

217(1.1.4)การทดสอบประสิทธิภาพป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้ง และเพลี้ยหอยในมะละกอ

217(1.1.5)ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดเพลี้ยหอยสีแดง

217(1.1.6)การทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงร่วมกับวิธีห่อผลเพื่อป้องกันเพลี้ยแป้งในมะม่วง

217(1.1.7)ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งในลำไย

217(1.1.8)(แก้ไข)ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดด้วงหมัดผักแถบลาย

217(1.1.9)ศึกษาประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่างๆ ในการป้องกันกำจัดหนอนเจาะฝักถั่วลายจุด (Maruca testulalis HÜbner)ในถั่วฝักยาว

217(1.1.10)การคัดเลือกสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบ(Tobacco whitefly), Bemisia tabaci Gennadiusในพริก

217(1.1.11)การควบคุมหอยและทากศัตรูพืชในโรงเรือนปลูกพืช

217(1.1.12)ประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดหนอนกออ้อยและผลกระทบต่อศัตรูธรรมชาติในอ้อย

217(1.1.13)ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดหนอนเจาะสมอฝ้ายHelicoverpa armigera(HÜbner)ในกุหลาบ

217(1.1.14)ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดด้วงหมัดผักแถบลายPhyllotreta sinuate Stephens ในผักกาดหัว

217(1.1.15)ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis Hoodในพริก

217(1.2.1)การศึกษาประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคพืชในการป้องกันกำจัดเชื้อราDidymella bryoniaeสาเหตุโรคยางไหล

217(1.2.2)การศึกษาประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคพืชในการป้องกันกำจัดเชื้อรา Exserohilum turcicumสาเหตุโรคใบไหม้แผลใหญ่ข้าวโพด

217(1.2.3)ศึกษาประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคพืชในการป้องกันกำจัดราสกุล Choanephora

217(1.2.4)การศึกษาประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคพืชในการป้องกันกำจัดเชื้อรา Rhizoctonia solani ในแปลงทดลอง

217(1.2.6)การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดไส้เดือนฝอยในการควบคุมไส้เดือนฝอยสาเหตุโรคเหลืองของพริกไทย

217(1.2.7)การศึกษาประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคพืช ในการป้องกันกำจัดโรคราแป้งถั่วลันเตา สาเหตุจากเชื้อรา Oidium sp.

217(1.2.8)การศึกษาประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคพืชในการป้องกันกำจัดโรคราน้ำค้าง

217(1.3.1)ศึกษาประสิทธิภาพคู่ผสมสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอกในข้าวโพด

217(1.3.2)ทดสอบประสิทธิภาพสาร glyphosate ผสมกับสารกำจัดวัชพืชประเภทใช้ก่อนวัชพืชงอกในสวนมะม่วง

217(1.3.3)การเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชโดยการผสมสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนและหลังวัชพืชงอกในข้าวนาหว่านน้ำตม

217(2.1.1)ความผันแปรของความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในหนอนใยผัก (diamondback moth, Plutella xylostella (L.))จากพื้นที่ปลูกต่างๆ

217(2.1.2)ความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟฝ้าย (cotton thrips,Thrips palmi Karny)

217(2.3.1)การทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งExallomochlus hispidus

217(2.3.1)สถานการณ์การระบาดของวัชพืชต้านทานสารกำจัดวัชพืชกลุ่มยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ acetolactate synthase (ALS)

217(3.1.1)(แก้ไข)ทดสอบผลของสารป้องกันกำจัดมันสำปะหลังต่อศัตรูธรรมชาติ_ส่งใหม่

217(4.1.1)ผลิตและพัฒนาเหยื่อโปรตีนในการป้องกันกำจัดแมลงวันผลไม้

217(4.4.1)การศึกษาอัตราการพ่นสารที่เหมาะสมด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบใช้แรงดันน้ำในข้าวโพดตามระยะการเจริญเติบโต

217(4.4.2)การศึกษาอัตราการพ่นสารที่เหมาะสมด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบใช้แรงดันน้ำ (Motorized knapsack power sprayer ) ในกลุ่มพืชเถาเลื้อย

217(4.4.3)(แก้ไข)การศึกษาอัตราการพ่นสารที่เหมาะสมด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้ำในกลุ่มไม้เถาเลื้อยขึ้นค้าง

217(4.4.4)(แก้ไข)การศึกษาอัตราการพ่นสารที่เหมาะสมด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้ำในกลุ่มไม้พุ่มขนาดเล็ก

217(4.4.5)(แก้ไข)การศึกษาอัตราการพ่นสารที่เหมาะสมด้วยเครื่องยนต์พ่นสารแบบใช้แรงดันน้ำในกลุ่มไม้พุ่มขนาดกลาง

217(5.1.2)(แก้ไข)การศึกษาประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชในขึ้นฉ่าย

218(1.1)การศึกษาชนิดแมลงศัตรูพืชส่งออก ได้แก่ เผือก และฟักทอง พืชนำเข้า ได้แก่ มันสำปะหลัง และยาสูบ

218(1.2)การศึกษาชนิดของ โรคพืชของพืชส่งออก ได้แก่ เผือก และ ฟักทอง พืชนำเข้า ได้แก่ มันสำปะหลังและยาสูบ

218(1.3)(แก้ไข)การศึกษาชนิดของวัชพืชของพืชส่งออก เผือก และฟักทอง พืชนำเข้า ได้แก่ มันสำปะหลัง และยาสูบ

218(2.1.12)การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศนำเข้าจากอิตาลี

218(2.1.13)การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของผลมะเดื่อฝรั่งสดนำเข้าจากสหรัฐอเมริกา

218(2.2.4)การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของเมล็ดพันธุ์แตงโมนำเข้าจากญี่ปุ่น

218(2.2.5)การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของหัวมันฝรั่งเพื่อการแปรรูปนำเข้าจากสาธารณรัฐอินเดียและอียิปต์

218(2.2.7)การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของผลองุ่นสดนำเข้าจากสหรัฐเม็กซิโก

218(3.9)การศึกษาชนิดศัตรูพืชที่ติดมากับหอมแดงและหอมหัวใหญ่นำเข้าจากต่างประเทศ

218(3.10)การศึกษาชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์แครอทที่นำเข้าจากต่างประเทศ

218(3.11)การศึกษาชนิดศัตรูพืชที่ติดมากับกระเทียมนำเข้าจากต่างประเทศ

218(3.11)เรื่องเต็ม องุ่น ส่ง กผง. โสภา มีอำนาจ มค 59

218(3.12)(แบบฟอร์มไม่ถูก)เรื่องพริกเต็ม

218(4.1)(แก้ไข)การผลิตแอนติซีรัม Potato virus A_ส่งใหม่

218(5.1)วิจัยและพัฒนาวิธีกำจัดแมลงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดแมลงวันผลไม้ในผลแก้วมังกรเพื่อการส่งออก

218(5.4)วิจัยและพัฒนาวิธีกำจัดแมลงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดแมลงวันผลไม้ในผลมะละกอเพื่อการส่งออก

218(6.1 กท.ย่อย) ณัฏฐพร_เรื่องเต็มปี 58_PRA_Cmm_25-02-59

218(6.1)การเฝ้าระวังการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรีย Clavibacter michiganensis subsp. michiganensis (Smith) Davis.ในพื้นที่ปลูกมะเขือเทศในประเทศไทย

218(6.2)เฝ้าระวัง -กักกัน 59 ล่าสุด 2016-3-14 new

218(6.5)การสำรวจสถานภาพของรา Claviceps ในประเทศไทย

218(6.6)การสำรวจสถานภาพของแบคทีเรีย Pseudomonas syringae pv. lachrymans ในพืชตระกูลแตง ในประเทศไทย

218(6.7)การสำรวจสถานภาพของแบคทีเรีย Pseudomonas syringae pv. syringae ในพื้นที่ปลูกข้าวโพดในประเทศไทย

219(1.1.22)การแพร่กระจายและความหลากหลายทางชีวภาพของหนูนาใหญ่, Rattus

219(1.1.23)อนุกรมวิธานเพลี้ยหอยเกราะอ่อนสกุล Coccus (Hemiptera Coccidae)

219(1.1.24)อนุกรมวิธานแมลงหวี่ขาวใน วงศ์ย่อย Aleyrodinae ในประเทศไทย

219(1.1.25)อนุกรมวิธานเพลี้ยไฟ สกุล Haplothrips Amyot & Serville

219(1.1.27)อนุกรมวิธานผีเสื้อกลางคืนสกุล Parapoynx Hübner (Lepidoptera Crambidae) ในประเทศไทย

219(1.1.28)อนุกรมวิธานของแตนเบียนไข่วงศ์ใหญ่ Platygastroidea ที่เข้าทำลายหนอนกอข้าว มวนเขียวข้าว และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล

219(1.1.30)อนุกรมวิธานไรสี่ขาวงศ์ Eriophyidae ของประเทศไทย

219(1.1.31)ชีววิทยา การเข้าทำลาย ฤดูกาลระบาดของแมลงวันทองชนิด Bactrocera tau (Walker)

219(1.1.33)ความหลากหลายทางพันธุกรรมของหนูนาใหญ่, Rattus argentiventer(Robinson and Kloss, 1916) ที่พบในประเทศไทย

219(1.1.34)ศึกษาการจำแนกสายพันธุ์และลักษณะทางพันธุกรรมของปรสิตโปรโตซัว, Sarcocystis singaporensis โดยวิธีทางอณูชีววิทยา

219(1.1.35)อนุกรมวิธานด้วงงวงสกุล Rhynchophorus

219(1.1.36)สัณฐานวิทยาและลำดับพันธุกรรมของเพลี้ยไฟสกุล Thrips และ Bathrips

219(1.1.37)อนุกรมวิธานแมงมุมวงศ์ Clubionidae

219(1.1.38)ลักษณะทางอนุกรมวิธานและชีววิทยาของเพลี้ยแป้งลายจุดPhenacoccus solenopsis Tinsley

219(1.1.39)ชนิดมดที่พบในแหล่งผลิตและโรงคัดบรรจุไม้ผลเพื่อการส่งออก

219(1.1.40)ชีววิทยา นิเวศวิทยาของเพลี้ยไก่แจ้ส้ม, Diaphorina citri Kuwayama ในพืชตระกูลส้ม

219(1.1.41)ชีววิทยาและเขตการแพร่กระจายของไรแมงมุมคันซาวา Tetranychus kanzawai Kishida

219(1.2.6)การศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาของรา Didymella bryoniae (Auersw.) Rehm.

219(1.2.7)การจำแนกชนิดและเอกลักษณ์ทางพันธุกรรมของ Race แบคทีเรียRalstonia solanacearum ที่พบในประเทศไทย

219(1.2.9)อนุกรมวิธานและความสามารถในการทำให้เกิดโรคของไส้เดือนฝอย migratory endoparasitic nematodes

219(1.2.14)การจำแนกชนิดแบคทีเรียสาเหตุโรคใบจุดของกล้วยไม้สกุลม็อคคาร่า

219(1.3.15)ชีววิทยา นิเวศวิทยา และการแพร่กระจายของวัชพืชสกุล Boerhavia L.

219(1.3.16)ชีววิทยา การแพร่ระบาด ของวัชพืชวงศ์ทานตะวันสองชนิด หญ้าหน้าแมว และทานตะวันหนู

219(1.3.17)ศึกษาชนิดวัชพืชต่างถิ่นในพื้นที่เกษตรที่สูงภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ

219(2.2)ชนิดของแมลงหายากและใกล้สูญพันธุ์ในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย

219(2.3)ความหลากชนิดของแมลงปออันดับโอโดนาทา (Odonata) ในภาคเหนือของประเทศไทย

219(3.1.6)การวิจัยและพัฒนาการผลิตชุดตรวจสอบ GLIFT Kit (Gold Labeling IgG Flow Test) สำหรับตรวจไวรัสในกลุ่ม Tospovirus

219(3.1.8)การพัฒนาชุดตรวจสอบไวรัส PVY PVX PVS ในมันฝรั่ง

219(3.1.9)การโคลนและสังเคราะห์โปรตีน secA gene ของเชื้อไฟโตพลาสมาสาเหตุโรคใบขาวอ้อยในระบบเซลล์แบคทีเรีย

219(3.1.10)การผลิตแอนติซีรัมของไวรัส Citrus tristeza virus สาเหตุโรคทริสเทซ่าของพืชตระกูลส้มใช้ระบบเซลล์แบคทีเรีย

219(3.1.11)การพัฒนาชุดตรวจสอบแบบ Immuno-Strip เพื่อตรวจสอบเชื้อแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. cattleyae ในกล้วยไม้

219(3.2.8)การตรวจสอบเชื้อไวรัส Watermelon silver mottle virus (WSMoV ) ที่เป็นสาเหตุโรคของพืชตระกูลแตงด้วยเทคนิคอณูชีววิทยา

219(3.2.9)การตรวจสอบแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae และ Xanthomonas oryzae pv. oryzicola โดยเทคนิค multiplex PCR

219(3.2.10)การตรวจสอบเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum ในหัวพันธุ์ปทุมมาด้วยเทคนิค Loop-Mediated Isothermal Amplification(LAMP)

219(3.2.11)การพัฒนาวิธีการตรวจสอบเชื้อ Grapevine yellow speckle viroid (GYSVd)เชื้อสาเหตุโรคในองุ่นด้วยวิธีอณูชีววิทยา

219(3.2.12)การจำแนกชนิดของเพลี้ยไฟฝ้าย Thrips palmi Karny (Thysanoptera Thripidae) ในประเทศไทยโดยเทคนิค real-time PCR

220(1.3.1)ศึกษาการกำหนดมาตรการสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้าเมล็ดพันธุ์พริกจากสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล

220(1.3.2)ศึกษาการกำหนดมาตรการสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้าเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศจากสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล

220(1.4.1)ศึกษาการกำหนดมาตรการสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้าเมล็ดพันธุ์ส้มจากสาธารณรัฐฝรั่งเศส

220(1.6.1)ศึกษาการกำหนดมาตรการสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้าเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสมจากสาธารณรัฐฟิลิปปินส์

220(1.6.2)ศึกษาการกำหนดมาตรการสุขอนามัยพืชสำหรับการนำเข้าเมล็ดพันธุ์แคนตาลูปจากญี่ปุ่น

220(2.3.1)ศึกษาประสิทธิภาพมาตรการสุขอนามัยพืชกับผลส้มสดนำเข้าจากสาธารณรัฐแอฟริกาใต้

221(1.1.1)ศึกษามาตรการสุขอนามัยพืชในการส่งออกหน่อไม้ฝรั่ง

221(1.2.2)ศึกษามาตรการสุขอนามัยพืชในการส่งออกผลมะพร้าวอ่อน

222(1.1.1)การวิเคราะห์พื้นที่อ่อนไหวที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ

222(1.1.2)การศึกษาผลกระทบต่อผลผลิตของพืชเศรษฐกิจหลักในพื้นที่อ่อนไหว

222(1.1.2)การศึกษาผลกระทบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการผลผลิตด้านเกษตรภายใต้สภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศไทย

222(1.1.3)การศึกษาความเปลี่ยนแปลงด้านพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในพื้นที่อ่อนไหว

222(1.1.4)การศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อลดผลกระทบต่อผลผลิตของพืชเศรษฐกิจหลัก

222(1.1.5) location จ.อุตรดิตถ์ ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศต่อการเจริญเติบโตของทุเรียนพันธุ์พื้นเมืองใน จังหวัดอุตรดิตถ์

222(1.1.5)การพัฒนาศูนย์สู่ความเป็นเลิศเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพนักวิจัย

223(1.1.1)(1.1.2) ปาล์มน้ำมัน_อรัญญ์ ขันติยวิชย์ แก้ไข (1)

223(1.1.1)การสำรวจและคัดเลือกฐานพันธุ์กรรมของพันธุ์ปาล์มน้ำมันที่ปรับตัวได้ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ

223(1.1.3)การพัฒนาพันธุ์พืชเศรษฐกิจทนร้อนทนแล้ง

223(1.1.3)การพัฒนาพันธุ์พืชเศรษฐกิจทนร้อนและทนแล้ง

223(1.1.3)การพัฒนาพันธุ์พืชเศรษฐกิจทนร้อนและแล้ง

226(2.1.1)ผลของช่วงวันปลูกต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดหวาน

226(2.1.2)ผลของสภาพดินขาดน้ำและการใส่ปุ๋ย NP ในช่วงฟื้นตัวของข้าวโพดหวาน

226(2.3.1)ผลของช่วงวันปลูกต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตงา

226(2.3.2)ผลของช่วงวันปลูกต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์งา

226(2.3.3)ผลของการขาดน้ำต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตงา

228(1.1)ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ความชื้น และปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ต่อการเจริญของเชื้อรา Aspergillus niger และความสามารถในการสร้างสารพิษในผลิตผลเกษตร

228(1.2)ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ความชื้น และปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อการเจริญของเชื้อรา Aspergillus flavus และความสามารถในการสร้างสารพิษในธัญพืช

228(1.3)เรื่องเต็ม climate change_fusarium

229(1.1.4)การศึกษาวิธีการเก็บรักษาสารสกัดจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินที่มีประสิทธิภาพ

229(1.3.4)การศึกษาการมีชีวิตรอดของพีจีพีอาร์ในวัสดุพาปลอดเชื้อ

229(1.3.5)การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ปลอดเชื้อปนเปื้อนเชื้ออื่นเชิงอุตสาหกรรม

229(1.5.3)การศึกษาวิธีการผลิตจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตให้อยู่ในรูปแบบปุ๋ยชีวภาพ(2557-2558)

229(1.5.4)การจำแนก genus และ species ของจุลินทรีย์ที่ใช้ในการผลิตปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต

229(1.6.4)การศึกษาสัดส่วนที่เหมาะสมของแหนแดงที่ใช้เป็นวัสดุพา สำหรับการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ไรโซเบียม

229(2.1.1)การวิจัยและพัฒนาเทคนิคการตรวจวิเคราะห์ประสิทธิภาพและการจำแนกสกุลและชนิดปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม

229(2.2.1)การวิจัยและพัฒนาเทคนิคการตรวจวิเคราะห์ประสิทธิภาพและการจำแนกสกุลและชนิดปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์

229(2.3.1)การวิจัยและพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณประสิทธิภาพและการจำแนก สกุลและชนิดของปุ๋ยชีวภาพสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินแนก

229(2.4.1)การตรวจวิเคราะห์ปริมาณราอาบัสคูลาไมโคไรซ่าโดยวิธี MPN

229(2.4.2)การจำแนกสกุลอาบัสคูลาไมคอร์ไรซา 4 ชนิด

229(2.5.1)การวิจัยและพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณประสิทธิภาพและการจำแนกสกุลและชนิดของปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต

229(3.1.1)การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมัก

229(3.2.1)การผลิตปุ๋ยหมักคุณภาพโดยการเพิ่มเชื้อจุลินทรีย์ดินที่เป็นประโยชน์

229(3.3.2)ศึกษาการปลดปล่อยธาตุอาหารของปุ๋ยอินทรีย์เคมีควบคุมการละลาย

229(3.3.3)ศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์เคมีควบคุมการละลาย

229(3.4.2)ศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์เคมีชนิดเหลว

229(4.2.2)การศึกษาผลของแหล่งคาร์บอนชนิดต่าง ๆ ต่อโครงสร้างประชากรจุลินทรีย์ดินบริเวณรากพืช

229(4.2.3)การศึกษาโครงสร้างประชากรจุลินทรีย์ดินบริเวณรากพืชในระดับ micro-plot

229(4.3.3)ศึกษาประสิทธิภาพของหัวเชื้อจุลินทรีย์ย่อยสลายวัสดุอินทรีย์

230(1.2)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของ Abamectin ในส้มเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง (MRL)

230(1.3)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของแลมป์ดาไซฮาโลทรินในส้มเขียวหวานเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง(MRL)ครั้งที่3 และ 4

230(2.1)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของ Fipronil ในมะเขือ เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง (ครั้งที่ 1-6)

230(2.2)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของ Buprofezin ในมะเขือ เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง (ครั้งที่ 1-6)

230(2.3)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างอินด็อกซาคาร์บ(indoxacarb)ในคะน้าเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 1-6

230(2.4)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของแลมบ์ดาไซฮาโลทรินในคะน้าเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารมีพิษตกค้าง (MRLs) ครั้งที่ 3 – 6

230(2.5)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างindoxacarb ในถั่วฝักยาวเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง(MRL)

230(2.6)วิจัยปริมาณสารมีพิษตกค้างของคาร์โบซัลแฟน (carbosulfan) ในถั่วฝักยาวเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง (MRLs)ครั้งที่ 1-6

230(2.7)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของสไปโรมีซิเฟนในกะเพราเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง(MRL)

230(2.8)วิจัยปริมาณสารพิษตกค้าง Fipronil ในคะน้า เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 3 และ 4

231(1.1)ศึกษาการประเมินการสูญหายของปุ๋ยไนโตรเจนชนิดต่างๆโดยการระเหิดจากดินโดยการบ่มดินในห้องปฏิบัติการ

231(1.1)ศึกษาการประเมินการสูญหายของปุ๋ยไนโตรเจนชนิดต่างๆโดยการระเหิดจากดินโดยการบ่มดินในห้องปฏิบัติการ

231(1.3)ศึกษาการลดการสูญหายปุ๋ยไนโตรเจนเนื่องจากการชะล้างในดินที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

231(1.4)การศึกษาการป้องกันการสูญหายของธาตุอาหารในพื้นที่ลาดชัน

231(2.2-2.4) เรื่องเต็มฟอสฟอรัส_วริศ แคนคอง

231(2.3)ศึกษาศักยภาพการปลดปล่อยฟอสฟอรัสของดินด่างเมื่อใช้จุลินทรีย์ที่เฉพาะเจาะจงกับดินด่างช่วยในการละลายฟอสเฟต

231(5.1)ศึกษาการปนเปื้อนของโลหะหนักในดิน พืชและคุณภาพดินในแหล่งปลูกพืชเศรษฐกิจ

231(5.2)ศึกษาการปนเปื้อนของโลหะหนักในดินโดยวิธียับยั้งการละลาย

231(5.3)ติดตามตรวจสอบการแพร่กระจายและสะสมของสารแคดเมียมและตะกั่วในพื้นที่การเกษตรที่มีปัญหา

232(1.1.4)ศึกษาเทคนิคการตรวจสอบการย่อยสลายที่สมบูรณ์ของปุ๋ยอินทรีย์

232(1.1.9)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์แอมโมเนียมไนโตรเจนใน

232(1.1.10)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ปริมาณไนเตรทไนโตรเจนในปุ๋ยเคมี

232(1.1.11)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ปริมาณโพแทชที่ละลายน้ำในปุ๋ยเคมี

232(1.1.13)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์แอมโมเนียมไนโตรเจนในปุ๋ยเคมี

232(1.1.15)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์แอมโมเนียมไนโตรเจนในปุ๋ยเคมี

232(1.1.17)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์ฟอสเฟตทั้งหมดในปุ๋ยเคมี ตามวิธี Officialmethods of analysis of fertilizers

232(1.2.1)การศึกษาปริมาณสารควบคุมการเจริญเติบโตพืช paclobutrazol ที่ตกค้าง

232(1.3.1)ศึกษาอิทธิพลของสารละลายต่างๆ ที่ใช้ในการสกัด และขั้นตอนการกลั่นที่เหมาะสมเพื่อใช้หาค่าความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวกของดิน

232(1.3.3)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ซัลเฟอร์ของดิน

232(1.3.4) เปรียบเทียบความสามารถระหว่างห้องปฏิบัติการ_พจมาลย์ แก้ววิมล+

232(1.3.4)เปรียบเทียบความสามารถระหว่างห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ดิน

232(1.3.5)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ค่าธาตุอาหาร แคลเซียม แมกนีเซียม

232(1.3.6)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ค่าธาตุอาหาร แคลเซียม แมกนีเซียมและ โพแทชเซียม ของดิน

232(1.5.9)(ใช้ได้)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร Hexazinone

232(1.5.10)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตรกลุ่มสารกำจัดแมลง Fenitrothion

232(1.5.11)(ใช้ได้)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตรHexaconazole

232(1.5.12)(ใช้ได้)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารกำจัดแมลง Fipronil

232(1.5.13)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร diazinon

232(1.5.14)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษทางการเกษตร fipronil

232(1.5.15)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษทางการเกษตร atrazine

232(1.5.16)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร กลุ่มสารกำจัดแมลง Methomyl

232(1.5.17)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร กลุ่มสารกำจัดแมลง Carbaryl

232(1.5.18)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษทางการเกษตร ของสารกำจัดแมลง Cypermethrin

232(1.5.19)ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษทางการเกษตร ของสารกำจัดแมลง Chlorpyrifos

232(2.1.1)(ใช้ได้)ศึกษาวิธีวิเคราะห์หาปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในปุ๋ยเคมีโดยเทคนิค NIRS

232(2.1.2)(ใช้)ศึกษาวิธีวิเคราะห์หาคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของดิน โดยเทคนิค NIRS

232(2.1.3)(ใช้) Emulsifiable concentrate (EC) โดยเทคนิค NIRs_จิตตานนท์ สรวยเอี่ยม+

232(2.2.1)(ใช้) ความต้องการปูนของดิน_พจมาลย์ แก้ววิมล+

232(2.2.2)(ใช้) ชุดตรวจสอบ OM ดิน_เจนจิรา เทเวศร์วรกุล+

232(3.1.3)การสำรวจ วิเคราะห์ และศึกษาขนาดอนุภาคและความแข็งของเม็ดปุ๋ยของแม่ปุ๋ยนำเข้า และสารตัวเติมจากแหล่งต่าง ๆ ที่จะใช้ในการผลิตปุ๋ยผสมแบบคลุกเคล้า

232(3.2.2)ศึกษาความสัมพันธ์ของค่าความเป็นกรดด่าง และค่าการนำไฟฟ้าของปุ๋ยอินทรีย์ที่มีต่อดัชนีความงอก

232(3.2.3)(ใช้) การพัฒนาระบบฐานความรู้_สุพิศสา ทองเขียว+

233(1.1.1)การศึกษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ Atrazine Ametryn และ Alachlor

233(1.1.2)การศึกษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์สารธรรมชาติ

233(1.1.3)(แก้ไข)การศึกษาคุณภาพผลิตภัฑณ์สารกำจัดแมลง chlopyrifos, cypermethrin,dimethoate, malathion, profenofos จากร้านค้าสารเคมีเกษตรในเขตรับผิดชอบ สวพ.5

233(1.1.4)(แก้ไข)การศึกษาคุณภาพผลิตภัฑณ์สารกำจัดวัชพืช ametryn, atrazine, alachlor,butachlor, propanil จากร้านค้าสารเคมีเกษตรในเขตรับผิดชอบ สวพ.5

233(1.1.5)การศึกษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ chlorpyrifos, cypermethrin, atrazine,butachlor และ propanilจากร้านค้าสารเคมีเกษตรในเขตรับผิดชอบ สวพ.1

233(2.3.1)(แก้ไข)เรื่องเต็ม 2.3.1 เนาวรัตน์

233(2.3.2)วิจัยชนิดและปริมาณสารพิษตกค้างในพืชผักผลไม้ในพื้นที่สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 2 หลังการรับรองระบบ GAP

233(2.3.3)วิจัยชนิดและปริมาณสารพิษตกค้างในพืชผักผลไม้ในพื้นที่ สวพ.3 หลังการรับรองระบบ GAP

233(2.3.4)วิจัยชนิดและปริมาณสารพิษตกค้างในพืชผักผลไม้ในพื้นที่ สวพ.4 หลังการรับรองระบบ GAP

233(2.3.5)เรื่องเต็ม 2.3.5 สุวรรณี

233(2.3.5)วิจัยชนิดและปริมาณสารพิษตกค้างในพืชผักผลไม้ในพื้นที่ สวพ.5 หลังการรับรองระบบ GAP

233(2.3.6)(แก้ไข)เรื่องเต็ม 2.3.6 เกษสิริ

233(2.3.7)(แก้ไข)วิจัยชนิดและปริมาณสารพิษตกค้างพืชผักผลไม้ในพื้นที่สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 หลังการรับรองระบบ GAP

233(2.3.8)วิจัยชนิดและปริมาณสารพิษตกค้างในพืชผักผลไม้ในพื้นที่ สวพ.8 หลังการรับรองระบบ GAP

233(3.2.1)การสะสมสารพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อมบริเวณเกษตรกรรม แม่น้ำท่าจีน

233(4.1.1)ศึกษาปริมาณสารพิษปนเปื้อนบนร่างกายผู้พ่นสารกำจัดแมลงกลุ่ม Organophosphorus ในแหล่งปลูกพืชผักและไม้ผล ชนิด ethion ในส้มเขียวหวาน

233(4.1.2)ศึกษาการสลายตัวและสะสมของสารกำจัดแมลง กลุ่ม Organophosphorus ในผลผลิตพืชผักและไม้ผล ชนิด ethionในส้มเขียวหวาน

233(4.1.3)การสลายตัวและการสะสมของสารกำจัดแมลง_สิริพร เหลืองสุชนกุล

233(4.1.4)ศึกษาผลกระทบจากการใช้ สารกำจัดแมลง ปภัสรา

234(1.1.2)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารกำจัดแมลงและสารกำจัดวัชพืชในดินและน้ำโดยใช้ Gas chromatography Mass Spectrometry พัฒนาวิธีวิเคราะห์สารกำจัดวัชพืช 2,4-D ในน้ำ

234(1.1.3)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างสารกลุ่ม Organophosphorus, Organochlorine และ Pyrethriods ในน้ำ เพื่อการขอการรับรองห้องปฏิบัติการของ สวพ.5

234(1.1.4)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างสารกลุ่ม carbamate ในน้ำ เพื่อการขอการรับรองห้องปฏิบัติการของ สวพ.5

234(1.2.9) ตรวจสอบความใชได้ของวิธีการ QuEChERS

234(1.2.28)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่ม organophosphorus, pyrethroid และ endosulfan ในพืชน้ำมัน

234(1.2.29)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่ม dithiocarbamate ในผักและผลไม้ โดยใช้เทคนิค Gas Chromatograph Mass Spectrometry

234(1.2.30)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้าง chlorothalonil ในผักและผลไม้

234(1.2.32)การศึกษาความคงตัว(Stability)ในการเก็บรักษาสารมาตรฐานกลุ่ม fungicide ที่อุณหภูมิต่าง ๆ

234(1.2.33)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้าง ในพืชสมุนไพรโดยใช้ Gas Chromatograph

234(1.2.34)การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้าง pymetrozine ในผัก

234(1.2.36)การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่ม Organophosphorus และ Pyrethroid ในพืชผักและผลไม้ (แตงโม) โดยวิธี QuEchERS

234(2.2)การจัดทำตัวอย่างอ้างอิงภายในสำหรับการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่ม organophosphorus,pyrethroidและcarbamateในผักและการทดสอบความสามารถระหว่างห้องปฏิบัติการ

234(2.3)การจัดทำตัวอย่างอ้างอิงภายในสำหรับการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่ม Organophosphorus,Pyrethroidและ Carbamateในผลไม้ และการทดสอบความสามารถระหว่างห้องปฏิบัติการ

235(1.6)การศึกษาเชื้อราที่มีศักยภาพในการผลิตเอนไซม์ไซลาเนสและการโคลนยีนไซลาเนสเพื่อการย่อยสลายเฮมิเซลลูโลสโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

235(1.7)การศึกษาการโคลนยีน การแสดงออกของยีน และการผลิตโปรตีนต้านการเกิดผลึกน้ำแข็งจากแบคทีเรีย

235(1.9)การดัดแปลงพันธุกรรมของ ยีน YAP1 ในยีสต์ (Saccharomyces cerevisiae) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการหมักเอทานอล

235(1.10)การจำแนกเชื้อราเขียว Metharhizium spp. จากยีนไคติเนสด้วยเทคนิคชีวโมกุล

235(2.1)การควบคุมการแสดงออกของยีน dihydroflavonol 4-reductase(DFR)ในรูป antiseneเพื่อสร้างความหลากหลายของสีดอกหน้าวัว

235(3.1)การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอ SNP เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ยางพารา

235(4.1)ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของเห็ดเรืองแสง

235(4.3.2)การจัดทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอและการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลในการตรวจเอกลักษณ์ของกล้วยไม้รองเท้านารีในประเทศไทย

236(2)การถ่ายยีน Sucrose Synthase ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์น้ำตาลและการตรวจสอบการปรากฏของยีนในพืชต้นแบบ

236(3)การถ่ายฝากเวคเตอร์ RNAi เพื่อยับยั้งการเสื่อมสภาพและการแสดงออกของยีน DHS ในพืชต้นแบบ

237(1)วิจัยและพัฒนาความใช้ได้ของวิธีการทดสอบการตรวจวิเคราะห์ถั่วเหลืองและข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม

237(2)การพัฒนาชุดตรวจสอบโปรตีน (เป็นกรณีศึกษาการใช้กับ) ข้าวดัดแปรพันธุกรรม Bt63

237(3)การพัฒนาชุดตรวจสอบโปรตีน CP4EPSPS (เป็นกรณีศึกษาการใช้กับ) ข้าวโพดต้านทานสารกำจัดวัชพืช Roundup Ready

237(4)การพัฒนาชุดตรวจสอบโปรตีน Cry1Ab(เป็นกรณีศึกษาการใช้กับ)ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม

237(5)การผลิตชุดตรวจสอบแบบรวดเร็วสำหรับโปรตีน Cry9C (เป็นกรณีศึกษาการใช้กับ) ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม

237(7)วิจัยและพัฒนาความใช้ได้ของวิธีการทดสอบการตรวจวิเคราะห์ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม Mon 88017,Mon89034,MIR604และ MIR162

237(8)การสร้างดีเอ็นเอมาตรฐานเพื่อการตรวจวิเคราะห์มะละกอดัดแปรพันธุกรรม

237(9)การผลิตโปรตีนมาตรฐานเพื่อพัฒนาชุดตรวจสอบ ELISA Kit ของถั่วเหลืองดัดแปรพันธุกรรมในเชิงพาณิชย์

238(1.1)การขยายพันธุ์กระทือด้วยระบบเทมโพรารีไบโอรีแอคเตอร์

238(1.2)การฉายรังสีเนื้อเยื่อกระทือให้เกิดการกลายพันธุ์

238(2.1)ศึกษาและพัฒนาการขยายพันธุ์ยางพาราโดยการพัฒนาไปเป็นต้นอ่อน

238(2.2)การพัฒนาการขยายพันธุ์ยางโดยวิธี micro-cutting ในสภาพปลอดเชื้อ

238(2.3)การพัฒนาการปลูกถ่ายยีนโดยการใช้ Agrobacterium และการพัฒนาไปเป็นต้นที่สมบูรณ์ในยางพารา

239(1.3)การผลิตเอนไซม์ที่ย่อยสลายลิกโนเซลลูโลส

239(1.4)การรวบรวมและพัฒนาสายพันธุ์ยีสต์สำหรับผลิตไบโอเอทานอล

239(1.5)การผลิตเอนไซม์ย่อยสลายชีวมวลระดับอุตสาหกรรมขนาดย่อม

239(2.3.1)การโคลนยีนควบคุมการสังเคราะห์ลิกนินในพืช [กองแผน]

239(2.4)ผลของการถ่ายฝากยีนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมตาบอลิซึมของน้ำตาลซูโครสในสาหร่าย Chlamydomonas reinhardtii สำหรับการผลิตเอทานอล

239(3.1)การทดสอบพืช สาหร่ายนำเข้าจากต่างประเทศที่เหมาะสมสำหรับผลิตไบโอเอทานอลเทียบกับพืชท้องถิ่น

239(3.2)เรื่องเต็ม 3.2 พี่ฟ้งรายงานผลงานเรื่องเต็ม

239(4.1)การพัฒนาเครื่องมือแปรสภาพชีวมวลในกระบวนการย่อยสลาย

239(4.2)การพัฒนาเครื่องจักรกลในกระบวนการหมักของการผลิตเอทานอลจากชีวมวล

240(1.2)การถ่ายยีนและศึกษาการแสดงออกของยีนที่ทนต่อสภาวะเครียดในพืชต้นแบบ

240(2)การศึกษาและค้นหายีนที่ตอบสนองต่อสภาวะขาดน้ำของข้าวโพดพันธุ์นครสวรรค์ 3 (NSW3) โดยอาศัยเทคนิค PCR

240(3)การปรับปรุงและถ่ายฝากยีนทนทานสภาพแวดล้อม OsSKIPa สู่ถั่วเหลืองโปรตีนสูง โดยเทคนิค Ovary-drip

241(2.2)การพัฒนาสารเคลือบผิวชนิดไมโครอิมัลชัน (microemulsion) เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลสด

241(2.3)การพัฒนาสารเคลือบผิวที่บริโภคได้เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลสด

241(3.1)(แก้ไข)การใช้เทคโนโลยีควบคุมบรรยากาศด้วย CO2 ความเข้มข้นสูงในการยืดอายุผลิตผลสด

241(4.1)ผลของการใช้สาร 1-MCP ในการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลสด

241(8.1)การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อเก็บรักษาผักตัดแต่งพร้อมบริโภค

241(8.2)การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อเก็บรักษาผลไม้ตัดแต่งพร้อมบริโภค

242(1.1)การใช้เอนไซม์ Glutamic Acid Decarboxylase จากผลิตผลเกษตรเพื่อผลิต GABAในผลิตภัณฑ์อาหาร

242(1.3)การศึกษาปริมาณสารคาเทชิน และ ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มชาเขียวผลไม้เพื่อสุขภาพ

242(3.1)การแปรรูปและยกระดับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จากผักและผลไม้

242(3.6)การประเมินสารประกอบฟินอลิกและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในกระบวนการผลิตอาหารเสริมสุขภาพจากข้าวโพดฝักสด

242(3.7)การศึกษาเทคโนโลยีการผลิต Fructooligosaccharide ในน้ำผลไม้โดยเอ็นไซม์จากจุลินทรีย์

243(2.4)การผลิตเอนไซม์ Fructosyltransferase (levansucrase) จากสิ่งมีชีวิตอาณาจักรเห็ดรา

243(3.1)ศึกษาผลของเชื้อ Oenococcus oeni ต่อการหมักกรดแลคติกในกระบวนการผลิตไวน์ในประเทศเขตร้อนชื้น

244(1.2)วิจัยและพัฒนากระดาษดูดซับเอทิลีนจากวัสดุเหลือใช้ในอุตสาหกรรมเกษตร

244(1.3)การผลิตโพลิเมอร์ชีวภาพจากจุลินทรีย์

244(1.4)วิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ชีวภาพสำหรับอาหาร (แก้ไข) (1)

244(1.7)วิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลัง

244(2.2)(ใช้)วิจัยและพัฒนาเครื่องมือขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ชีวภาพ

245(2.1)การประเมินสารสำคัญในผลิตผลเกษตร โดยใช้เทคนิคการไม่ทำลายตัวอย่างด้วย Near Infrared Spectroscopy

245(2.2)การประเมินคุณภาพแป้งในพืชไร่ชนิดต่างๆโดยใช้เทคนิคการไม่ทำลายตัวอย่างด้วย Near Infrared Spectroscopy

245(2.4)การตรวจสอบการปนเปื้อนแมลงวันผลไม้ (Bactrocera dorsalis Hendel)

245(2.7)การประเมินปริมาณสารพิษแอฟลาทอกซินในเมล็ดและแป้งธัญพืช โดยเทคนิค Near Infrared Spectroscopy

245(2.8)การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในใบชาเขียว โดยเทคนิค Near Infrared Spectroscopy

245(2.9)การประเมินคุณภาพพืชตระกูลถั่วโดยใช้เทคนิคการไม่ทำลายตัวอย่างด้วยNear Infrared Spectroscopy

246(1.2)การประเมินคุณภาพแป้งฟลาวโดยใช้เทคนิค NIR Spectroscopy

246(3.5)(แก้ไข)ศึกษาคุณภาพแป้งมันเทศพันธุ์-สายพันธุ์ที่เหมาะกับการแปรรูปเป็นวุ้นเส้น

246(5.2)การเตรียมบรรจุภัณฑ์ชีวภาพจากแป้งของพืชที่มีศักยภาพ (แก้ไข)

247(1.1)การใช้สารสกัดจากเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์เพื่อลดความสูญเสียของผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว

247(2.1)การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรคแอนแทรคโนสในผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว

247(2.4)การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดพืชในการควบคุมการเจริญของเชื้อ Aspergillus flavus และลดปริมาณสารแอฟลาทอกซิน

247(3.1)การใช้กรดอินทรีย์เพื่อควบคุมโรคแอนแทรคโนสในผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว

247(3.2)การใช้ Methyl Jasmonate และ Methyl Salicylate เพื่อควบคุมโรคผลเน่าของ

247(5.2)การใช้ความร้อนร่วมกับสารกลุ่มคาร์บอเนตควบคุมโรคแอนแทรคโนสของผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว

248(1.3)ผ้าพลาสติก3

248(1.7)อีโคฟูมข้าวโพด 11

248(1.8)(แก้ไข)การใช้สารรมอีโคฟูม (ECO2FUME®) ในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟกล้วยไม้เพื่อการส่งออก

248(2.6)การจัดการเพลี้ยแป้งเงาะ (Ferrisia virgate) หลังการเก็บเกี่ยวเงาะโดยใช้สารสกัดจากพืช

248(2.8)การทดสอบประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยลูกจันทน์เทศและน้ำมันหอมระเหยข่าลิงในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูถั่วเขียว

248(3.1)การศึกษาระดับอุณหภูมิความร้อนในการกำจัดแมลงศัตรูสมุนไพรอบแห้งทางการแพทย์

248(3.5)การใช้บรรจุภัณฑ์ร่วมกับการใช้สารดูดซับออกซิเจน และวิธีการ Vacuum ในการกำจัดแมลงศัตรูสมุนไพรอบแห้งทางการแพทย์

248(5.1)การตรวจสอบความต้านทานของมอดแป้งต่อสารรมฟอสฟีน

248(5.2)การตรวจสอบความต้านทานของมอดหนวดยาว, Cryptolestes spp.,ต่อสารรมฟอสฟีนในประเทศไทย

250(1)ศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวเลกลุ่มอูรักลาโวยทางภาคใต้

250(2)ศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของผักพื้นเมืองในชุมชนจังหวัดชายแดนภาคตะวันตก (ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี กาญจนบุรี )

250(4)ศึกษาพฤกษศาสตร์พืชไร่พื้นเมืองภาคเหนือตอนบน

250(5)ศึกษาการอนุรักษ์พืชชนิดใหม่ที่หายาก

250(7)ศึกษาพฤกษศาสตร์ของพันธุ์ข้าวพื้นเมืองในชุมชนเขตพื้นที่ภาคเหนือ 3 จังหวัด

250(8)ศึกษาพฤกษศาสตร์ของพันธุ์พืชพื้นเมืองในชุมชน เขตพื้นที่ภาคใต้ 3 จังหวัด (นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา)

252(4)การวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อการใกล้สูญพันธุ์ของปรงนาหรือปรงสีเงิน (Cycas siamensis Miq.) ก่อนการออกหนังสืออนุญาตส่งออก

253(1)ศึกษาวิจัยพืชอนุรักษ์ของกลางในคดีว่าด้วยกฎหมายพันธุ์พืช พ.ศ. 2518

254(1)ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อร่างหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์ไผ่

254(2)ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อร่างหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์กะหล่ำปลี

254(3)ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อร่างหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์ ผักกาดหัว

254(4)ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์เพื่อร่างหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบมันเทศ

254(5)ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อร่างหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์เบญจมาศ

255(5)ศึกษาความหลากหลายและการกระจายพันธุ์ของฮ่อสะพายควาย

255(8)ศึกษาความหลากหลายและการกระจายพันธุ์ของสบู่เลือด

256(1)ผลของระยะเวลาในการลดความชื้นของเมล็ดด้วยห้องลดความชื้นที่มีต่อความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์สำหรับการอนุรักษ์ในธนาคารเชื้อพันธุ์พืช

256(4)ศึกษาเทคนิคเพื่อทดสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์พริกที่อนุรักษ์ไว้ในธนาคารเชื้อพันธุ์พืช

256(6)การอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืชวงศ์ขิง 10 ชนิด โดยวิธีชะลอการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเชื้อ

256(10)การศึกษาเทคนิคการอนุรักษ์พันธุ์องุ่นในสภาพปลอดเชื้อ (นางสาวปาริฉัตร สังข์สะอาด หัวหน้าการทดลอง

256(11)เทคนิคการขยายพันธุ์นรีรัตน์ (Petrocosmea pubescence) พืชถิ่นเดียวของไทยในสภาพปลอดเชื้อ 

256(12)เทคนิคการขยายพันธุ์ชาฤาษีดอยตุง (Paraboea doitungensis) ในสภาพปลอดเชื้อเพื่อการอนุรักษ์ 

256(13)เทคนิคการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ปอแก้วไทยในสภาพเยือกแข็ง (นางสาวอัสนี ส่งเสริม หัวหน้าการทดลอง)

256(14)เทคนิคการเก็บรักษาเมล็ดเชื้อพันธุ์งาขี้ม้อนในสภาพเยือกแข็ง (นางสาวเสาวณี เดชะคำภู หัวหน้าการทด

256(15)เทคนิคการเก็บรักษาเมล็ดเชื้อพันธุ์พืชน้ำมัน (ถั่วเหลือง และถั่วลิสง) ในสภาพเยือกแข็ง (นายพิทยา

257(1.1)การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาของพืชพื้นเมือง พืชท้องถิ่นในธนาคารเชื้อพันธุ์พืช

257(1.2)(แก้ไข)การศึกษาเทคนิคการจัดทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพืชพื้นเมือง พืชท้องถิ่นในธนาคารเชื้อพันธุ์พืช

257(2.1)(แก้ไข)การรวบรวม และฟื้นฟูพันธุ์บุก (Amorphophallus spp.) ในประเทศไทยเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์