ปี 2557

1 การศึกษาสัดส่วนที่เหมาะสมของแหนแดงที่ใช้เป็นวัสดุพา สำหรับการผลิตปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต

1(1.1.3)ผลของวันปลูกต่อผลผลิตและคุณภาพของอ้อยพลังงาน

1(1.2.1)การทดสอบพันธุ์อ้อยพลังงาน

2 การค้นหายีนควบคุมการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตจากพันธุกรรมของยางพาราโดยวิธี Association Mapping2

2 การป้องกันกำจัดแมลงนูนหลวงอ้อยโดยวิธีผสมผสาน

3 การเปรียบเทียบมาตรฐาน โคลนอ้อยชุด 2548 เพื่อผลผลิตสูงและไว้ตอได้ดี

3(แก้ไข)ทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดไรขาวพริกศัตรูสำคัญของส้มโอ ทับทิมสยามในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง

4 (1.1.1.1) การทดสอบพันธุ์และการให้ผลผลิตของผักชีฝรั่ง

4 (1.1.1.2) การทดสอบอัตราการหว่านเมล็ดที่เหมาะสมในการผลิตผักชีฝรั่ง

4 (1.1.1.3) การทดสอบการให้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตผักชีฝรั่งและวิเคราะห์ธาตุอาหารพืช

4 (1.1.1.4) การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวในการผลิต

4 (1.1.3.1) การทดสอบการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสม และวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชในดิน โหระพา

4 (1.1.3.2) การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาว โหระพา

4 (1.1.4.1) การทดสอบการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมและวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชในการผลิตสาระแหน่

4 (1.1.4.2) การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดเพลี้ยอ่อนและวิเคราะห์

4 (3.1.1) การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชผักในแปลงปลูกตามมาตรฐานการส่งออก

4 (3.1.2) การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตโหระพาในแปลงปลูกตามมาตรฐาน ราชบุรี

4 (3.2.1.1) การถ่ายทอดระบบการผลิตในโรงคัดบรรจุพืชผักและผลไม้ ศวพ.นครปฐม

4 (3.2.2.1) การถ่ายทอดระบบการผลิตในโรงคัดบรรจุจังหวัดราชบุรี

4 (3.3.1.2) การถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตพืชผักให้มีคุณภาพได้มาตรฐานราชบุรี

4 (3.3.2.2) การถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการโรงคัดบรรจุพืชผักจังหวัดราชบุรี

4 การเปรียบเทียบเบื้องต้นโคลนอ้อยชุด 2549 เพื่อผลผลิตสูงและไว้ตอได้ดี

4(1.1.2.1)การทดสอบการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมและวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชในดิน (กะเพรา)

4(1.1.2.1)การทดสอบการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมและวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชในดิน (กะเพรา)

4(1.1.2.2)การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาว และวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผักสด (กะเพรา)

4(1.1.2.2)การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาว และวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผักสด

4(2.1.2)การใช้เทคนิค NIR ตรวจสอบและประเมินการปนเปื้อนของศัตรูพืช

4(3.1.3.1)การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชผักในแปลงปลูกตามมาตรฐานการส่งออกในเขตพื้นที่ จ.ปทุมธานี

4(3.1.3.1ล่าสุด)การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชผักในแปลงปลูกตามมาตรฐาน

4(3.2.3.1)การถ่ายทอดระบบการผลิตในโรงคัดบรรจุ จ.ปทุมธานี

4(3.2.3.1ล่าสุด)การถ่ายทอดระบบการผลิตในโรงคัดบรรจุ จ.ปทุมธานี

4(3.3.1.1)การถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตพืชผักให้มีคุณภาพได้มาตรฐานการ

4(3.3.1.3)การถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตพืชผักให้มีคุณภาพได้มาตรฐานการการส่งออกในจังหวัดปทุมธานี

4(3.3.2.1)การถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการโรงคัดบรรจุพืชผักจังหวัดนครปฐม

4(3.3.2.3)การถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการโรงคัดบรรจุพืชผักจังหวัดปทุมธานี

4การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสมในการผลิตโหระพา

5 ระยะปลูกที่เหมาะสม ของแปลงผลิตพันธุ์จากการชำข้อตาเพื่อเป็นท่อนพันธุ์ในฤดูปลูกข้ามแล้ง

5(1.1)วิจัยและพัฒนาโรงอบแห้งมะขามฝัก

5(2.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องกะเทาะเปลือกมะขาม

5(3.1)วิจัยและพัฒนาเครื่องคั่วและกะเทาะเปลือกเม็ดมะขาม

5(4.1)วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแป้งเมล็ดมะขาม

6 อายุต้นกล้าจากการชำข้อที่เหมาะสม สำหรับย้ายปลูกสำหรับแปลงพันธุ์เพื่อการปลูกในฤดูปลูกข้ามแล้งและฤดูฝน

7 เทคนิคการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมอ้อย (Saccharum officinarum L.)ในสภาพปลอดเชื้อ

8 การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์อ้อยเพื่อผลผลิตและคุณภาพชุดปี 2546 อ้อยตอ28

8ผลของไบโอชาร์ต่อการเปลี่ยนแปลงความอุดมสมบูรณ์ดินทราย-ดินร่วน

9 การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร เพื่อการรับรองพันธุ์ อ้อยตอ 2

9(1.1)การทดสอบหอมหัวใหญ่เพื่อกระจายฤดูกาลผลิตสำหรับการบริโภคสดและแปรรูป

9(2)การทดสอบพันธุ์ที่เหมาะสมในการแปรรูปเป็นหอมหัวใหญ่ผง

10 ศึกษาปฏิกิริยาของอ้อยโคลนดีเด่นต่อโรคใบขีดด่างของอ้อย

11 ศึกษาผลตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยเคมีของอ้อยโคลนดีเด่น

11(1,2,3) สำรวจและประเมินสถานการณ์นำเข้า-ส่งออกปัจจัยการผลิตพืช

12 การคัดเลือกครั้งที่ 1 โคลนอ้อยชุดปี 2556 เขตน้ำฝน

12(1.3)การเปรียบเทียบพันธุ์ถั่วเหลืองพันธุ์กลายเพื่ออายุเก็บเกี่ยวสั้น

13 การเปรียบเทียบท้องถิ่นพันธุ์อ้อยเพื่อส่งเสริมการผลิตเอทานอลและการกระจายผลผลิต(อ้อยชุดปี2548)อ้อยตอ2(เก็บเกี่ยว)

13(1.1)ระบบการผลิตและการแปรรูปต๋าวในพื้นที่ลุ่มน้ำน่าน

13(1.2)การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากต๋าว

13(2.1)เครื่องมือบีบผลให้ได้เนื้อในต๋าวแบบใช้แรงคน

13(2.2)เครื่องมือแบบลูกกลิ้งบีบต๋าวใช้ต้นกำลังจากเครื่องยนต์หรือมอเตอร์

14 การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์อ้อยเพื่อการส่งเสริมการผลิตเอทานอลและการกระจายผลผลิต(อ้อยชุดปี2548)อ้อยตอ2

14(1.1)การประเมินสถานการณ์การนำเข้า มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มะพร้าว พริก หอมแดง ส้ม มะนาว และกระเทียม

14(2.2)สารพิษตกค้างในส้มและมะนาวนำเข้าจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

15 การศึกษาการเข้าทำลายของหนอนกออ้อยในพันธุ์อ้อยเพื่อส่งเสริมการผลิตเอทานอล

16 การประเมินโรคอ้อยในพันธุ์อ้อยเพื่อการสนับสนุนการผลิตเอทานอลและการกระจายผลผลิต

16 รายงานเรื่องเต็มปุ๋ยหมักเปลือกไม้-2558-final_พีรพงษ์

17 การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์อ้อยคั้นน้ำชุดปี 2553 อ้อยตอ 2

17(1.1)วิจัยและพัฒนาไถระเบิดดินดานสำหรับรถแทรกเตอร์ขนาดกลาง

18(1.1)การออกแบบและพัฒนาระบบทำความเย็นสำหรับการเก็บ

18(1.2)การออกแบบและพัฒนาชุดระบบควบคุมอัตโนมัติสำหรับระบบ

18การศึกษาการเข้าทำลายของหนอนกออ้อยในพันธุ์อ้อยคั้นน้ำ

19 ศึกษาปฏิกิริยาของอ้อยโคลนดีเด่นต่อโรคแส้ดำ

19(1.1)การประเมินการรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในลำไยพันธุ์ดอ

19(2.1)ศึกษาปริมาณสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้างและคุณภาพลำไยระหว่างการเก็บรักษา

20 ผลของการใช้สารเร่งการเจริญเติบโตต่อผลผลิตและคุณภาพอ้อย

21 วิจัยและพัฒนาระบบการป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูอ้อยที่สำคัญแบบบูรณาการ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

21การทบทวนชนิดเมล็ดวัชพืชที่ติดปนเปื้อนมากับเมล็ดถั่วเหลือง และธัญพืชที่นำเข้า

22 การศึกษาวิธีการใช้น้ำร้อนในการกำจัดเชื้อโรคใบขาวในท่อนพันธุ์อ้อย

23 ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงประเภทดูดซึมในการป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่นพาหะโรคใบขาวอ้อย

23(1)การศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ของการผลิตทุเรียนพันธุ์หลงลับแลและพันธุ์หลินลับแล

24 การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคุมโรคใบขาวอ้อยจังหวัดมุกดาหาร

24(1.1.1)ผลของการส่งถ่ายยีน Antisense ACC (1-aminocyclopropane-1-carboxylase) ต่อ การยืดอายุการบานของดอกกล้วยไม้สกุลหวายเอียสกุล

24(1.1.2)ผลของการส่งถ่ายยีน Antisense ACC (1-aminocyclopropane-1-carboxylase) ต่อ การยืดอายุการบานของดอกกล้วยไม้แวนด้า

25 การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชร

26 การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

26(1)การศึกษาและวิเคราะห์ความความต้องการของพืชต่อสภาพแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

26(2.1)การประเมินความเหมาะสมการปลูก ยางพารา อ้อย และมันสำปะหลังของจังหวัดต่างๆ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

26(3.1)สำรวจตรวจสอบความถูกต้องผลการประเมินความเหมาะสมของการปลูกยางพารา อ้อยและมันสำปะหลัง จังหวัดต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

26(4.1)การจัดทำฐานข้อมูลเชิงพื้นที่จังหวัดต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและฐานข้อมูลสภาพภูมิอากาศ

26(5.1)การศึกษาและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

27 การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์

28 การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดตาก

29 การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดสุโขทัย

30 การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์

31 ศึกษาและทดสอบวิธีการให้น้ำที่เหมาะสมสำหรับไร่อ้อยเขตชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

31(1.1)การสำรวจการใช้ยาปฏิชีวนะในสวนส้มของเกษตรกร ในเขตจังหวัดเชียงใหม่

31(1.2ใหม่)ผลของการใช้สารปฏิชีวนะในการกำจัดเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรค กรีนนิ่ง

32 ศึกษาและทดสอบวิธีการให้น้ำที่เหมาะสมสำหรับไร่อ้อยเขตชลประทานในภาคกลาง

32(1.1.2)การเปรียบเทียบพันธุ์พริกขี้หนูผลใหญ่สายพันธุ์พื้นเมือง

33 ออกแบบและพัฒนากลไกการปลิด และเก็บใบอ้อย

33(1)การทดสอบพันธุ์มันเทศเพื่อการบริโภคสด

34 ออกแบบและพัฒนาชุดควบคุมแบบกึ่งอัตโนมัติสำหรับกลไกการปลิดและเก็บใบอ้อย

35 การคัดเลือกปีที่ 2 พันธุ์มันสำปะหลังลูกผสมปี2556

36 การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังเบื้องต้น (ลูกผสม ปี 2555)

37 การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังมาตรฐาน (ลูกผสมปี 2554)

38 การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังในไร่เกษตรกร(ลูกผสมปี2552)

38(1)ความหลากชนิดของหอยศัตรูพรรณไม้น้ำประดับ

38(2)การป้องกันกำจัดหอยศัตรูพรรณไม้น้ำประดับ

39 การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังเบื้องต้น เพื่อเก็บเกี่ยวอายุสั้น(ลูกผสมปี 2555)

40 การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังมาตรฐานเพื่อเก็บเกี่ยวอายุสั้น (ลูกผสมปี2554)

41 การศึกษาพัฒนาการ การเจริญเติบโต และค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของมันสำปะหลังพันธุ์ก้าวหน้าชุดที่2

42 การศึกษารูปแบบการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแป้งในมันสำปะหลังพันธุ์ต่างๆ ที่ชักนำให้เกิดรากสะสมอาหารด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเปรียบเทียบกับสภาพแปลงทดลอง

43 การประเมินความต้านทานเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลังพันธุ์ดีเด่นชุดที่ 4 (ลูกผสมปี 2552)

43 อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมที่มีต่อผลผลิตและ

44 การศึกษาผลของอายุการเก็บเกี่ยวที่มีต่อการปนเปื้อนโลหะหนักในส่วนของผลผลิตหัวสด และมันเส้น

44(1)การลดความเสียหายของพริกที่ปลูกในฤดูฝนโดยใช้การเตรียมดินและคลุมหลังคา

45 การเปรียบเทียบการปนเปื้อนโลหะหนักในผลผลิตหัวสด และมันเส้นของมันสำปะหลังพันธุ์ต่างๆ

45(ใหม่)การใช้พืชตระกูลกะหล่ำเป็นสารรมทางชีวภาพ เพื่อควบคุมแบคทีเรียสาเหตุโรคเหี่ยว

46 ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงประเภทพ่นทางใบในการป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวในมันสำปะหลัง

46(2.1)การทดสอบประสิทธิภาพกากเมล็ดชาน้ำมัน (Camelia sp.) เพื่อ กำจัดหอยเชอรี่

47 การควบคุมไรศัตรูมันสำปะหลังโดยชีววิธี

47(1.1)การศึกษาการใช้สารละลายไคโตซานชักนำความทนทานต่อโรคใบไหม้ แอนแทรคโนสและหัวมัน

47(1.4)การทดสอบการใช้สารละลายไคโตซานทดแทนการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชของการผลิตข้าวโพดฝักสด

47(1.5)การขยายผลเทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลืองฝักสดโดยการใช้สารละลายไคโตซานทดแทน

47(1.5ใหม่)การทดสอบการใช้สารละลายไคโตซานชนิดต่าง ๆ ทดแทนสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช

47(2.1)การทดสอบการใช้สารละลายไคโตซานชักนำความทนทานต่อสภาพความแห้งของอ้อย

47(2.1อ้อยปลูก)การทดสอบการใช้สารละลายไคโตซานชักนำความทนทานต่อสภาพความแห้ง

48 ทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลังจังหวัดชัยนาท

49 ทดสอบพันธุ์ มันสำปะหลังที่เหมาะสมต่อ สภาพพื้นที่จังหวัดชัยนาท

50 ทดสอบเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยหมักร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง

51 ทดสอบเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเคมีตามลักษณะเนื้อดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังจังหวัดชัยนาท

52 ทดสอบการใช้ปุ๋ยเคมีตามลักษณะเนื้อดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง จังหวัดนครสวรรค์

53 ทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลังจังหวัดราชบุรี

54 การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังหลังนาโดยอาศัยน้ำฝนในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

55 ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังหลังนาในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี

56 ศึกษาสถานการณ์การใช้เครื่องจักรและกระบวนการทำมันเส้นสะอาด

57 การศึกษาการลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยปาล์มน้ำมันกับพื้นที่ที่มีศักยภาพการผลิตในภาคใต้ตอนบน

58 ศึกษาและวิเคราะห์การปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกรจังหวัดกาฬสินธุ์

59 ศึกษาและวิเคราะห์การปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกรจังหวัดนครพนม

60 ศึกษาและวิเคราะห์การปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกรจังหวัดบึงกาฬ

61 สำรวจและวิเคราะห์การปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกรจังหวัดเลย

62 การสำรวจและวิเคราะห์ประเด็นปัญหาและแก้ไขการผลิตปาล์มน้ำมันให้เหมาะสมในพื้นที่

63 ศึกษาและวิเคราะห์การปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกรจังหวัดอุดรธานี

64 การเปรียบเทียบในท้องถิ่นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุยาวพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง

65 ศึกษาระบบการจัดการสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย

66 การเปรียบเทียบในท้องถิ่นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุสั้นพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง

67 การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนจากการใช้ปัจจัยการผลิตและเทคโนโลยีการผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในสภาพแห้งแล้ง

68 ทดสอบการใช้ปุ๋ยเคมีตามลักษณะเนื้อดินเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ นครสวรรค์

69 ทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทนแล้งที่เหมาะสมกับพื้นที่ จังหวัดอุทัยธานี

70 ศึกษาการป้องกันกำจัดหนอนเจาะลำต้น (Ostrinia furnacalis Guenee)และหนอนเจาะฝัก (Helicoverpa armigera Hubner) ในข้าวโพดหวาน

71 การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองสายพันธุ์ปราศจากกลิ่นถั่วเพื่อผลิตน้ำนม

72 การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองโปรตีนสูงและมีขนาดเมล็ดโต (ชุดที่ 2) เปรียบเทียบในไร่เกษตรกร

73 การปรับปรุงพันธุ์ การสร้างความแปรปรวนในสายพันธุ์ผลผลิตสูง-การผสมพันธุ์และการคัดเลือกพันธุ์

74 พันธุ์ถั่วเหลืองที่เหมาะสมในแหล่งที่มีน้ำน้อยในภาคตะวันออกเฉียง เหนือ

75 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถั่วเหลืองในแหล่งปลูกที่สำคัญ การประเมินผลผลิตถั่วเหลือง

76 การศึกษาสถานการณ์การผลิต การตลาด และเทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลือง

77 ผลของช่วงปลูกต่อผลผลิตของถั่วเหลืองสายพันธุ์ดีเด่นในภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

78 ประเมินศักยภาพการผลิตถั่วเหลืองที่ปลูกในสภาพน้ำจำกัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

79 การศึกษาอายุเก็บเกี่ยวและวิธีการเก็บเกี่ยวที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง

80 การจัดทำแผนที่ความเหมาะสมเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองในเขตภาคเหนือ

81 ช่วงเวลาการปลูกที่เหมาะสมของถั่วเหลืองสายพันธุ์ดีเด่น MHS 17ในแหล่งปลูกจังหวัดแม่ฮ่องสอน

82 ผลของระยะปลูกและจำนวนต้นต่อหลุมของถั่วเหลืองสายพันธุ์ดีเด่น MHS17ในแหล่งปลูก

83 อัตราปุ๋ยที่เหมาะสมของถั่วเหลืองสายพันธุ์ดีเด่น MHS17ในแหล่งปลูกจังหวัดแม่ฮ่องสอน

84 การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อผลผลิตสูงในแต่ละพื้นที่ การเปรียบเทียบในท้องถิ่น

85 การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อผลผลิตและคุณภาพ (ชุด 3)- การเปรียบเทียบเบื้องต้น

86 ช่วงปลูกและเก็บรักษาที่เหมาะสมเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดสายพันธุ์ดีเด่น

87 ระยะเวลาเก็บเกี่ยวและเก็บรักษาที่เหมาะสมเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดสายพันธุ์ดีเด่น

88 การศึกษาการตอบสนองต่อปุ๋ยเคมีของถั่วเหลืองฝักสดสายพันธุ์ดีเด่น

89 จำนวนต้นต่อหลุมและระยะปลูกที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มปริมาณฝักมาตรฐานของถั่วเหลืองฝักสดสายพันธุ์ดีเด่น

90 ผลของวิธีการเก็บรักษาน้ำมันถั่วเหลืองต่อปริมาณสารไอโซฟลาโวน

91 ผลของการใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทหลังงอกต่อผลผลิต และปริมาณสารไอโซฟลาโวนในถั่วเหลือง

92 การประเมินคุณค่าเพื่อการใช้ประโยชน์ของจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ทางการเกษตรต่อถั่วเขียวสายพันธุ์ดีเด่น

93 การระบาดของแมลงศัตรูในถั่วเขียวสายพันธุ์ดีเด่นปี 2557

94 การพัฒนาการผลิตถั่วงอกจากถั่วเขียวผิวดำและผิวมันสายพันธุ์ดีเด่นเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ

95 การจัดการธาตุอาหารพืชโดยการใช้ปุ๋ยชีวภาพต่อการให้ผลผลิตถั่วเขียวผิวมัน

96 การศึกษาวิธีการเก็บเกี่ยวด้วยเครื่องเกี่ยวนวดที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว

97 วิธีเร่งอายุเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวในการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์

98 การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตถั่วเขียวในพื้นที่จังหวัดลพบุรีและจังหวัดสระบุรี

99 การทดสอบเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพถั่วเขียวผิวดำในเขตภาคเหนือตอนล่าง

100 การทดสอบเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพเมล็ดถั่วเขียวผิวมันในเขตภาคเหนือตอนล่าง

101 การทดสอบเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวถั่วเขียวให้มีคุณภาพ

102 การทดสอบพันธุ์ถั่วเขียวผิวมันที่เหมาะสมกับสภาพพืั้นที่จังหวัดบุรีรัมย์

103 ทดสอบพันธุ์ถั่วเขียวผิวมันที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดแพร่

104 การผสมพันธุ์และการคัดเลือกพันธุ์ถั่วลิสงฝักต้มทนทานโรคยอดไหม้

105 ผสมพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์ถั่วลิสงขนาดเมล็ดปานกลางเพื่อทนทานโรคยอดไหม้

106 การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดขนาดปานกลางชุดที่ 2+3

107 ศึกษาค่าสัมประสิทธิ์พันธุกรรมของถั่วลิสงสายพันธุ์ก้าวหน้าชุดที่ 2

108 ผลของแคลเซียมและปุ๋ยเคมีต่อผลผลิตถั่วลิสงสายพันธุ์ก้าวหน้า ชุดฝักต้ม

109 ศึกษาอัตราประชากรและอายุเก็บเกี่ยวถั่วลิสงสายพันธุ์ก้าวหน้า ชุดฝักต้ม

110 การควบคุมแมลงศัตรูถั่วลิสงที่อาศัยอยู่ในดินด้วยสารฆ่าแมลง

111 การควบคุมโรคโคนเน่าในถั่วลิสงด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช

112 การศึกษาและพัฒนาเครื่องอบแห้งแบบกระบะสลับทิศทางลมร้อนสำหรับลดความชื้นฝักถั่วลิสง

113 การปรับปรุงพันธุ์งาขาวเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบพันธุ์ในท้องถิ่น

114 การปรับปรุงพันธุ์งาดำเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบพันธุ์มาตรฐาน

115 การปรับปรุงพันธุ์งาแดงเพื่อผลผลิตสูง การเปรียบเทียบในท้องถิ่น

116 การสร้างประชากรเพื่อใช้ในการสืบค้นยีนโดยใช้เทคนิคชีวโมเลกุลสำหรับคัดเลือกพันธุ์งาต้านทานโรคราแป้ง

117 การสืบค้นยีนโดยใช้เทคนิคชีวโมเลกุลสำหรับคัดเลือกพันธุ์งาต้านทานโรคราแป้ง

118 การปรับปรุงพันธุ์งาต้านทานโรคราแป้ง การเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้น

119 ทดสอบเทคโนโลยีการจัดการดินและวิธีการปลูกงาที่เหมาะสมในสภาพนาเกษตรกร

120 ทดสอบเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยพืชสดที่เหมาะสมต่อการปลูกงาในสภาพนาอินทรีย์

121 ผลของอัตราและชนิดของปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของงาในสภาพนาอินทรีย์

122 การทดสอบการปลูกงาด้วยเครื่องปลูกในสภาพนาและสภาพไร่

123 การคัดเลือกพันธุ์ฝ้ายโดยการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์

124 การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี(ชุดที่1)

125 การจำแนกและประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมฝ้าย

126 จำแนกและประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมฝ้าย(ชุดที่2)

127 การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี(ชุดที่2)

128 การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี (ชุดที่3)

129 การเปรียบเทียบในไร่เกษตรพันธุ์ฝ้ายเส้นใยสี(ชุดที่1)

130 การศึกษาการพักตัวของเมล็ดพันธุ์งาแดงสายพันธุ์ A30-15

131 ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพงางอก

132 การปรับปรุงประชากรของทานตะวันพันธุ์เชียงใหม่ 1

133 การสร้างประชากรพันธุ์ทานตะวันชนิดสกัดน้ำมัน

134 ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของทานตะวันชนิดสกัดน้ำมันในภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน

135 การเปรียบเทียบพันธุ์ฝ้ายในท้องที่

136 การทดสอบพันธุ์ฝ้ายในพื้นที่จังหวัดแพร่

137 เปรียบเทียบเทคนิค suspension culture และtemporary immersion ในการขยายพันธุ์สับปะรด

138 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการโรคเหี่ยวในสับปะรด

139 วิจัยและพัฒนาเครื่องปลูกสับปะรดแบบพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์ในระดับเกษตรกร

140 ทดสอบการป้องกันกำจัดโรคพุ่มไม้กวาดของเกษตรกรในพื้นที่

141 การทดสอบเทคโนโลยีและประสิทธิภาพของห้องรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์

142 วิจัยและพัฒนาโรงอบแห้งพลังงานร่วมสำหรับการผลิตลำไยอบแห้งสีทอง

143 ทดสอบและพัฒนาเครื่องทอดสุญญากาศสำหรับเนื้อลำไย

144 การทดสอบและพัฒนาเครื่องอบแห้งผลไม้สำหรับอบเนื้อลำไย

145 การพัฒนาการจัดการน้ำ ปุ๋ย และสารควบคุมการเจริญเติบโต เพื่อการผลิตมังคุดก่อนฤดู

146 ศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีการอบแห้งเนื้อมังคุดด้วยเครื่องอบแห้งลมร้อน

147 การคัดเลือกสายต้นทุเรียนพื้นเมืองพันธุ์ดีในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง

148 รายงานฉบับสมบูรณ์การทดลองสกัดสารซาโปนิน2 อภิรดี

149 ผลของราไตรโคเดอร์มาในการยับยั้งการเจริญของเส้นใยราสาเหตุโรคจุดดำของส้มโอในห้องปฏิบัติการ

150 การเก็บรักษาเมล็ดกาแฟต่อการเข้าทำลายของด้วงกาแฟและสารออคราทอกซิน เอ (Ochratoxin A) ในเมล็ดกาแฟ

151 สำรวจการส่งออกลิ้นจี่ วิธีการยืดอายุ และศึกษาอายุการวางจำหน่ายลิ้นจี่ส่งออกในเขตภาคเหนือตอนบน

152 การศึกษาคุณภาพของเมล็ดกาแฟโรบัสตาที่ได้จากการตากแห้งผลสดที่ชะลอการตากไว้ที่ระยะเวลาต่าง ๆ กัน

153 การจัดการธาตุอาหารของกาแฟโรบัสตาตามค่าการประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินและพืช

154 ชุดเครื่องมือและกระบวนการแปรรูปสดกาแฟสำหรับกลุ่มเกษตรกร

155 เรื่องเต็ม การค้นหาชิ้นส่วนของสารพันธุกรรม ยีน ที่ควบคุมความหอม

156 ผลชอง NAA (Naphthyl acetic Acid) ที่มีต่อการเพิ่มผลผลิตมะพร้าวน้ำหอม

157 การจัดการธาตุอาหารที่เหมาะสมในการผลิตมะพร้าวน้ำหอม

158 การควบคุมหอยซัคซิเนียSuccinea sp.ในสวนกล้วยไม้โดยวิธีผสมผสาน

159 การศึกษาวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัดเชื้อรา Fusarium spp.สาเหตุโรคในกล้วยไม้ที่ปลูกเป็นการค้า

160 ศึกษาการป้องกันกำจัดทาก Parmarion siamensis ในสวนกล้วยไม้

161 การศึกษาและพัฒนาการตรวจจับศัตรูกล้วยไม้ด้วยการประมวลผลภาพ

162 การพัฒนาระบบการปลูกกล้วยไม้สกุลแวนดา

163 การตอบสนองต่อปุ๋ยเคมีสูตรต่าง ๆ ของกล้วยไม้รองเท้านารีฝาหอย

164 ศึกษาการขยายพันธุ์กล้วยไม้ลูกผสมสกุลลิ้นมังกรและสกุลว่านอึ่งโดยการเพาะเมล็ดในสภาพปลอดเชื้อ

165 การขยายพันธุ์กล้วยไม้ดินสกุลคาเเลนเธจากเนื้อเยื่อส่วนต่างๆ ในสภาพปลอดเชื้อ

166 การสำรวจและรวบรวมกล้วยไม้ป่าในภาคตะวันออก

167 การอนุรักษ์กล้วยไม้ป่าในภาคตะวันออกอย่างมีส่วนร่วม

168 การศึกษาวัสดุปลูกทดแทนกาบมะพร้าว

169 การศึกษาวัสดุปลูกทดแทนกาบมะพร้าว ในกล้วยไม้กระถาง (สกุลหวาย) เพื่อการส่งออก

170 การทดสอบพันธุ์พริกขี้หนูผลใหญ่พันธุ์จินดา

171 ปฏิสัมพันธ์ของธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียมต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพริกขี้หนูผลใหญ่ในจังหวัดกาญจนบุรี

172 เทคโนโลยีการผลิตพันธุ์พริกโดยใช้ต้นตอที่ต้านทานทนทานโรคในดิน

173 การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของซอสพริกในจังหวัดสุโขทัย

174 การทดสอบและพัฒนาปูพลาสติคคลุมดินสำหรับการปลูกพริกในเขตพื้นที่ภาคเหนือ

175 วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการอบลดความชื้นสำหรับทำพริกแห้ง

176 การศึกษาอายุต้นกล้าไพลที่ได้จากเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่เหมาะสมในการปลูกในแปลง

177 คัดเลือกและทดสอบประสิทธิภาพจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคเหี่ยวของไพล

178 อายุเก็บเกี่ยวเมล็ดปัญจขันธ์ที่เหมาะสมเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์

179 การเพิ่มประสิทธิภาพการงอกของเมล็ดพันธุ์ปัญจขันธ์พันธุ์สิบสองปันนา

180 วิธีการปลูกที่เหมาะสมต่อผลผลิตและปริมาณสารสำคัญของปัญจขันธ์พันธุ์อ่างขาง

181 วิจัยสูตรผลิตภัณฑ์ผสมรวมพืชว่านน้ำ สะเดา และหางไหลในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช

182 รวบรวมและคัดเลือกพันธุ์รางจืด

183 การคัดเลือกและเปรียบเทียบพันธุ์อัญชัน

184 การเปรียบเทียบพันธุ์พลูคาว

185 การรวบรวมและคัดเลือกพันธุ์ว่านเพชรกลับ

186 ศึกษาการขยายพันธุ์ว่านเพชรกลับโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

187 การศึกษาเทคนิคทางสถิติเพื่อใช้เป็นมาตรฐานสำหรับแปลงทดลองปัญจขันธ์

188 ชักนำให้เบญจมาศเกิดการกลายพันธุ์โดยการฉายรังสิชุดที่ 1 2557

189 ศึกษาวัสดุพรางแสงและวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการผลิตเฟินตัดใบ

190 ผลของธาตุอาหารหลักต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของเฟินตัดใบ

191 ประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคใบไหม้ของมันฝรั่งโดยชีววิธี

192 การพัฒนาเทคนิคการใช้เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ควบคุมโรคเหี่ยวเขียวของมันฝรั่ง

193 การอบดินด้วยแสงอาทิตย์และการคลุกเคล้าดินด้วยผักกาดเขียวเพื่อกำจัดโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียของขิงในแปลงปลูก

194 ทดสอบพันธุ์มันเทศเนื้อสีม่วงสายพันธุ์คัดในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง (ขุดที่1)

195 การเปรียบเทียบพันธุ์มันเทศลูกผสมเนื้อสีม่วง (ชุดที่ 2)

196 ทดสอบพันธุ์มันเทศเนื้อสีส้มสายพันธุ์คัดในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง (ขุดที่1)

197 การเปรียบเทียบพันธุ์มันเทศลูกผสมเนื้อสีส้ม (ชุดที่ 2)

198 เปรียบเทียบพันธุ์มันเทศเนื้อผสมสองสีเพื่อการบริโภคสด

199 ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดด้วงงวงมันเทศ(sweet potato weevil _ Cylas formicarius Fabricius )ในมันเทศเพื่อทดแทนการใช้ฟูราดาน

200 เทคโนโลยีการเพาะเห็ดถั่วฝรั่ง Coprinus comatus(O. F.Müll.) Gray

201 การศึกษาเทคโนโลยีการเพาะเห็ดร่างแหในภาคเหนือ

202 ศึกษาเทคโนโลยีการเพาะเห็ดร่างแหในภาคกลาง

203 การคัดเลือกเห็ดหอมสายพันธุ์ใหม่ที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคเหนือตอนบน

204 วิจัยเทคโนโลยีการผลิตเห็ดหูหนูขาว

205 รวบรวม จำแนกลักษณะและศึกษาการเกิดดอกของเห็ดลิ้นกวาง

206 การพัฒนาสายพันธุ์เห็ดแครงเพื่อการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ภาคใต้

207 ผลของอุณหภูมิที่มีต่อการเจริญเติบโต และการมีชีวิตอยู่รอดของไรไข่ปลา

208 การศึกษาความผันแปรจำนวนประชากรไรขาวใหญ่ในเห็ดหูหนู

209 การทดสอบเทคโนโลยีการใช้หัวเชื้ออาหารเหลวในการผลิตเห็ดหอมบนก้อนเพาะขนาดต่างๆ

210 ศึกษาการเพาะเห็ดต่งฝนบนวัสดุเพาะต่างๆ

211 การคัดเลือกพันธุ์คะน้า (ใบ และ ยอด) และกวางตุ้ง (ใบ และ ดอก) โดยวิธีการคัดเลือกแบบสายพันธุ์แม่เพื่อผลิตลูกผสมเปิด

212 การทดสอบพันธุ์คะน้า (ใบ และ ยอด) และกวางตุ้ง (ใบ และ ดอก) ในแหล่งปลูกต่างๆ เพื่อผลิตลูกผสมเปิด

213 การปรับปรุงพันธุ์ผักกาดขาวปลี(การปรับปรุงพันธุ์พืชผักให้เหมาะสมกับฤดูปลูก)

214 สำรวจและจำแนกพันธุ์มะเขือเทศเพื่อการปรับปรุงพันธุ์

215 การทดสอบพันธุ์กระเจี๊ยบเขียวที่ต้านทานต่อโรคเส้นใบเหลืองในแปลงเกษตรกร

216 ศึกษาโรคและแมลงที่สำคัญสำหรับโกโก้สายพันธุ์ต่างๆที่เหมาะสมสำหรับทำชอคโกแลต

217 การศึกษาปริมาณออคราทอกซิน เอในแหล่งปลูกโกโก้ต่างๆ

218 การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาและลักษณะประจำพันธุ์ของชาน้ำมัน(2556-2557)

219 การเจริญเติบโต การออกดอกติดผลและการพัฒนาของผลชาน้ำมันในภาคเหนือตอนบน

220 การจัดการธาตุอาหารในการผลิตกระเทียม

221 ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตกระเทียมที่มีคุณภาพแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

222 การศึกษาชนิดของต้นตอสำหรับขยายพันธุ์พืชตระกูลแตงที่ทนทานต้านทานต่อโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อ Fusarium oxysporum

223 การขยายพันธุ์พืชตระกูลแตงโดยใช้ต้นตอเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ

224 การศึกษาชนิดของต้นตอสำหรับการขยายพันธุ์พืชตระกูลแตงที่ทนทานต่อไส้เดือนฝอย

225 การศึกษาชนิดของต้นตอสำหรับการขยายพันธุ์พืชตระกูลแตงที่ทนทานต่อน้ำท่วมขัง

226 การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตผักชีฝรั่งให้ปลอดภัยจากสารพิษในพื้นที่จังหวัดนครปฐม

227 การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตผักชีไทยให้ปลอดภัยจากสารพิษและจุลินทรีย์ ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม

228 การศึกษาสูตรสารละลายธาตุอาหารพืชที่เหมาะสมในการผลิตผักชีไทยในระบบการปลูกแบบสารละลายธาตุอาหารพืช และคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว

229 การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตผักชีฝรั่งโดยวิธีผสมผสานให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง เชื้อจุลินทรีย์ และแมลงศัตรูพืชในพื้นที่จังหวัดนครปฐม

230 การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตผักชีไทยโดยวิธีผสมผสานให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง เชื้อจุลินทรีย์ และแมลงศัตรูพืชในพื้นที่จังหวัดนครปฐม

231 การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตโหระพาปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง เชื้อจุลินทรีย์(E. coliและSalmonella spp.)และแมลงศัตรูปนเปื้อนจังหวัดขอนแก่น

232 การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตขึ้นฉ่ายปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง เชื้อจุลินทรีย์(E. coli และ Salmonella spp.) และแมลงศัตรูปนเปื้อน จังหวัดขอนแก่น

233 ศึกษาการจัดการเทคโนโลยีการผลิตกล้วยไข่คุณภาพในช่วงฤดูแล้งภาคเหนือตอนล่าง (จ.สุโขทัย)

234 ศึกษาการจัดการเทคโนโลยีการผลิตกล้วยไข่คุณภาพในช่วงฤดูแล้งภาคตะวันออก (จ.จันทบุรี)

235 ผลของช่วงเวลาและระดับความสูงในการตัดลำต้นที่มีต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต

236 การผลิตฟรุกแตนผงจากกล้วยและการใช้ประโยชน์กากกล้วย

237 ศึกษาปริมาณของปุ๋ยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของงาขี้ม้อน

238 การปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์งาขี้ม้อนปรุงรส(2555-2557)

239 ศึกษาลักษณะพฤกษศาสตร์ของตะไคร้ต้นในเขตภาคเหนือตอนบน

240 ศึกษาวิธีการขยายพันธุ์มะไฟจีนที่มีประสิทธิภาพ

241 การสร้างองค์ความรู้เพื่อพัฒนาวิธีการแปรรูปและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์จากมะไฟจีน

242 การคัดเลือกพันธุ์พริกกะเหรี่ยงพันธุ์ดี

243 ทดสอบวิธีการคัดความบริสุทธิ์ของเมล็ดพันธุ์พริกกะเหรี่ยงในสภาพแปลงปลูกเกษตรกร

244 ศึกษาระยะสุกแก่ที่เหมาะสมสำหรับผลิตเมล็ดพันธุ์พริกกะเหรี่ยง

245 ทดสอบวิธีการลดความชื้นที่เหมาะสมกับเมล็ดพันธุ์พริกกะเหรี่ยง

246 ทดสอบสภาพภาชนะบรรจุในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พริกกะเหรี่ยง

247 การศึกษาการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟในพุทรา

248 การศึกษาการป้องกันกำจัดหนอนแดงในพุทรา

249 การศึกษาการป้องกันกำจัดแมลงวันผลไม้ในพุทรา

250 การศึกษาช่วงเวลาในการตัดแต่งกิ่งเพื่อกระจายผลผลิตพุทรา

251 ศึกษาความต้องการธาตุอาหารพุทรา

252 การคัดเลือกสายต้นลางสาดพันธุ์ดี

253 การศึกษากรรมวิธีการแปรรูปและการใช้ประโยชน์จากส้มจี๊ด

254 เปรียบเทียบพันธุ์กล้วยเล็บมือนางในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

255 สำรวจแหล่งกระจูด สภาพแวดล้อม การผลิตและการกระจายตัวของพันธุ์ชนิดของกระจูดในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

256 ศึกษาสภาวะการปลูก การผลิตต้นกระจูดของเกษตรกรและการนำไปใช้ ประโยชน์

257 สำรวจและรวบรวมข้อมูลการตลาดและการผลิตไม้ดอกไม้ประดับในภาคใต้ตอนล่าง

258 ศึกษาผลกระทบของสิ่งแวดล้อมในการผลิตไม้ผลอินทรีย์

259 สำรวจและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงศัตรูพืชในระบบการผลิตพืชภายใต้ระบบเกษตร

260 การทดสอบเทคโนโลยีการฟื้นฟูสวนส้มโอพันธุ์ท้องถิ่นจังหวัดชัยนาท

261 การทดสอบเทคโนโลยีการฟื้นฟูสวนส้มโอพันธุ์ท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม

262 พัฒนาการผลิตมวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor DohrnDevelopment on Mass Production of Assassin Bug,Sycanus versicolor Dohrn

263 คัดเลือกแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่มีศักยภาพ ในการควบคุมเชื้อแบคทีเรีย Erwinia carotovora subsp. carotovora และ E. chrysanthemi สาเหตุโรคเน่าเละกล้วยไม้

264 การทดสอบประสิทธิภาพแบคทีเรีย Bacillus subtilis ในการควบคุมโรคเหี่ยวพืชตระกูลแตงที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Fusarium solani

265 การคัดเลือกเชื้อราปฏิปักษ์ที่มีศักยภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอย-รากปม

266 การคัดเลือกและทดสอบศักยภาพของเชื้อรา Fusarium oxysporumสายพันธุ์ที่ไม่ก่อให้เกิดโรคพืช (non-pathogenic Fusarium) ในการควบคุมเชื้อรา Fusarium oxysporum

267 การทดสอบประสิทธิภาพเชื้อรา Trichoderma harzianum ในการควบคุมโรคตายพรายของกล้วยน้ำว้าที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Fusarium oxysporum f.sp. cubense ในสภาพแปลงปลูก

268 ทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดจาก Oudermansiella spp. ต่อการเจริญของเชื่อรา Alternaria spp. สาเหตุโรคพืช

269 การผลิตและการเก็บรักษาสปอร์โรซีสต์ของค็อคซิเดียนโปรโตซัว Sarcocystis singaporensis เพื่อใช้เป็นหัวเชื้อในการผลิตสารชีวินทรีย์กำจัดหนู

270 ศูนย์ต้นแบบการผลิตขยายแตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพูเป็นปริมาณมาก

271 การคัดเลือกสารฆ่าแมลงกลุ่มต่างๆในการป้องกันกำจัดหนอนใยผัก

272 ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟหอม ( onionthrips _ Thrips tabaci Lindeman ) และแมลงหวี่ขาวยาสูบ(tobacco whiteflies_ Bemisia tabaci Gennadius )

273 ประสิทธิภาพแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ไวรัสNPV และสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดหนอนเจาะสมอฝ้าย, Helicoverpa armigera (Hübner) ในมะเขือเทศ

274 ประสิทธิภาพของสารเคมีป้องกันกำจัดเพลี้ยหอยและเพลี้ยแป้งศัตรูเงาะ

275 ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดหนอนแมลงวันชอบใบ เพลี้ยไฟ และ หนอนผีเสื้อในดาวเรือง

276 ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟและหนอนผีเสื้อศัตรู

277 ศึกษาประสิทธิภาพกลุ่มสารสำคัญของสาบเสือในการควบคุมหนอนใยผัก

278 การทดสอบประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชในปทุมมา

279 ศึกษาประสิทธิภาพกลุ่มสารสำคัญของสาบเสือในการกำจัดวัชพืช

280 กลไกความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในหนอนใยผัก (diamondback moth, Plutella xylostella (L.))

281 การศึกษาการพัฒนาความต้านทานเชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ของหนอนกระทู้หอม

282 กลไกความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟฝ้าย (cotton thrips, Thrips palmi Karny)

283 การศึกษาผลกระทบของสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชในไม้น้ำต่อสัตว์น้ำ

284 เทคนิคการพ่นสารป้องกันกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล (Brown planthopper)_Nilaparvata lugens Stål ในนาข้าว

285 ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงบางชนิดในการป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่นฝ้าย และเพลี้ยไฟพริกโดยวิธีการราดโคน

286 การคัดเลือกสารเคมีและสารสกัดจากพืชในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูที่สำคัญในมะเขือเปราะ

287 ศึกษาชนิดและการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูสำคัญในไผ่กวนอิมเพื่อการส่งออก

288 การศึกษาชนิดของศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองที่นำเข้าจากต่างประเทศ

289 การศึกษาชนิดของศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ผักกาดเขียวที่นำเข้าจากต่างประเทศ

290 การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของเมล็ดพันธุ์ มะเขือเทศนำเข้าจากสาธารณรัฐประชาชนจีน

291 การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของผลแอปเปิลสดนำเข้าจากสหรัฐอเมริกา

292 การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของเมล็ดพันธุ์พริกนำเข้าจากสหรัฐอเมริกา

293 การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของเมล็ดพันธุ์แคนตาลูปนำเข้าจากสหรัฐอเมริกา

294 การศึกษาชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่นำเข้าจากต่างประเทศ

295 การศึกษาชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดที่นำเข้าจากต่างประเทศ

296 การศึกษาชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ถั่วลันเตาที่นำเข้าจากต่างประเทศ

297 การศึกษาชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์กระเจี๊ยบเขียวนำเข้าจากต่างประเทศ

298 การพัฒนาเทคนิคการตรวจวินิจฉัยเชื้อ Acidovorax avenae subsp. citrulli ด้วยวิธี PCR-ELISA

299 อนุกรมวิธานแมงมุมวงศ์ Tetragnathidae 300 อนุกรมวิธานมวนปีกแก้วสกุล Stephanitis Stål ที่พบในประเทศไทย

301 สัณฐานวิทยาและลำดับพันธุกรรมของเพลี้ยไฟดอกไม้ Common BlossomThrips_ Frankliniella schultzei (Trybom)

302 การผลิตชุดตรวจสอบ Bean yellow mosaic virus สำเร็จรูปโดยเทคนิคGold labeling IgG flow test

303 การจำแนกสายพันธุ์ Nucleopolyhedrovirus ที่พบในประเทศไทยโดยเทคนิค PCR

304 การศึกษาและวิเคราะห์ความเสี่ยงและหาพื้นที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัดต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

305 การสำรวจข้อมูลการผลิตพืช เศรษฐกิจ สังคม และการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดกาฬสินธุ์

306 การผลิตพืช เศรษฐกิจ สังคม และการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดขอนแก่น

307 การผลิตพืช เศรษฐกิจ สังคม และการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดชัยภูมิ

308 การสำรวจข้อมูลการผลิตพืชจังหวัดเลย

309 การผลิตพืช เศรษฐกิจ สังคม และการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดสกลนคร

310 การผลิตพืช เศรษฐกิจ สังคม และการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดมุกดาหาร

311 การสำรวจข้อมูลการผลิตทางการเกษตร เศรษฐกิจ สังคม และการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในการผลิตทางการเกษตรจังหวัดนครพนม

312 การผลิตพืช เศรษฐกิจ สังคม และการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดหนองบัวลำภู

313 การผลิตพืช เศรษฐกิจ สังคม และการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดหนองคาย

314 การสำรวจการผลิตข้อมูลการผลิตพืช จังหวัออุดรธานี

315 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อการทำการเกษตรของเกษตรกร

316 การศึกษาผลการใช้สารสกัดจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชผัก(ผักกาดหอม)

317 ศึกษากรรมวิธีต้นแบบการผลิตปุ๋ยชีวภาพละลายโพแทสเซียมที่ประหยัดทางเศรษฐกิจ

318 การวิจัยพัฒนาเทคนิคการฆ่าเชื้อปนเปื้อนในวัสดุพาในการผลิตปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์

319 การทดสอบประสิทธิภาพของปุ๋ยชีวภาพอาบัสคูลาไมโคไรซ่าแบบเม็ด

320 การศึกษาประสิทธิภาพในการเข้าครอบครองของรากเชื้อจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตที่คัดเลือกไว้

321 การพัฒนาสูตรอาหารดัดแปลงสำหรับการตรวจนับจำนวนแบคทีเรียละลายโพแทสเซียม

322 การศึกษาผลของแหล่งคาร์บอนชนิดต่างๆต่อจุลินทรีย์ในห้องปฏิบัติการ

323 ศึกษาการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ในรูปแบบอุตสาหกรรม

324 วิจัยการสลายตัวของสารพิษตกค้างของฟิโพรนิลในองุ่น

325 พัฒนาคุณภาพการวิเคราะห์การจัดทำตัวอย่างอ้างอิงภายในของปุ๋ยอินทรีย์

326 การพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณฟอสเฟตทั้งหมด (Total-P2O5) ในปุ๋ยเกล็ดและปุ๋ยที่ผลิตจากหินฟอสเฟต (Phosphate Rock)

327 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ซัลเฟอร์ในปุ๋ยเคมี

328 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์แอมโมเนียมไนโตรเจนในปุ๋ยเคมี

329 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ไนโตรเจนทั้งหมดในปุ๋ยเคมี

330 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ฟอตเฟตทั้งหมดในปุ๋ยเคมี

331 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์โพแทชที่ละลายน้ำในปุ๋ยเคมี

332 การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ไนโตรเจนทั้งหมดในปุ๋ยเคมี

333 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์ไนโตรเจนทั้งหมดในปุ๋ยเคมี

334 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์โพแทชที่ละลายน้ำในปุ๋ยเคมี

335 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) ในพืช

336 พัฒนาคุณภาพการวิเคราะห์การจัดทำดินอ้างอิงภายใน

337 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์เคอร์คูมินในสารสกัดขมิ้นชันและผลิตภัณฑ์

338 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร Isoprothiolane

339 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร amitraz

340 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร Bromacil

341 การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษ Butachlor

342 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร

343 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร dichlorvos

344 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษทางการเกษตร Deltametrin

345 การทดสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตรCypermethrin

346 การทดสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร Deltamethrin

347 การศึกษาสถานภาพของคุณภาพน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติ และน้ำบาดาล

348 โปรแกรมคำนวณอัตโนมัติเพื่อพิสูจน์ปุ๋ยปลอม ปุ๋ยผิดมาตรฐานของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์

349 ศึกษาปริมาณสารพิษตกค้างในชมพู่ ฝรั่ง

350 ศึกษาชนิดและปริมาณสารพิษตกค้างในผลิตผลเกษตร ดินและน้ำบริเวณแปลงปลูกในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บัว กะหล่ำปลี

351 ศึกษาชนิดและปริมาณสารพิษตกค้างในการผลิตผลเกษตร ดินและน้ำ

352 การศึกษาความคงตัว (Stability) ในการเก็บรักษา สารมาตรฐานกลุ่ม pyrethroid ที่อุณหภูมิต่างๆ

353 การศึกษาประสิทธิภาพของการสกัดสารพิษตกค้างกลุ่ม pyrethroid และ

354 การพัฒนาและตรวจสอบความความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์สารพิษตกค้าง Fipronil และสารอนุพันธ์ในผลไม้

355 การพัฒนาวิธีวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่มออร์กาโนฟอสฟอรัสในหอมแดง

356 การศึกษาไลเปสของแบคทีเรียและรา และการใช้ประโยชน์ในการผลิตไบโอดีเซล

357 การศึกษาไคติเนสของแบคทีเรีย รา และ Streptomyces และการใช้ประโยชน์ในการควบคุมโรคพืช

358 การศึกษาเทคโนโลยีเบื้องต้นในการผลิตไบโอเอทานอลจากสาหร่ายขนาดเล็ก

359 การใช้เครื่องหมายโมเลกุลประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของข้าวโพดข้าวเหนียวเพื่อการปรับปรุงพันธุ์

360 การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการประเมินลักษณะ และตรวจวิเคราะห์เอกลักษณ์

361 การโคลนยีน Flavonoid 3_,5_ hydroxylase (F3_ 5_H)จากอัญชัน และ พิทูเนีย

362 วิจัยและพัฒนาความใช้ได้ของวิธีการทดสอบการตรวจวิเคราะห์ถั่วเหลืองดัดแปรพันธุกรรม Mon 89788, 356043 และ 305423

363 การคัดเลือกและศึกษาประสิทธิภาพการผลิตเอนไซม์ย่อยสลายลิกโนเซลลูโลส

364 ศึกษา คัดเลือก และทดสอบชีวมวลในภาคต่างๆของประเทศไทยที่มีศักยภาพในการผลิตไบโอเอทานอล

365 การโคลนยีนที่ทนต่อสภาวะขาดน้ำในข้าวโพดพันธุ์ทนแล้ง

366 ผลของ Modified Atmosphere Packaging (MAP) และอุณหภูมิต่อการเก็บรักษาผัก

367 การผลิตเครื่องปรุงแต่งกลิ่นจากสมุนไพรและเครื่องเทศเพื่อสุขภาพ

368 การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าสารสกัดตะไคร้และตะไคร้หอมเป็นน้ำหอมมูลค่าสูง

369 ศึกษาวิธีสกัดและวิเคราะห์ปริมาณแทนนินต่อรสเฝื่อนในไวน์มังคุด

370 การผลิตเครื่องดื่มรสผลไม้อัดแก๊สจากสารละลายน้ำตาลที่ได้จากสารละลายน้ำตาล

371 การวิจัยและพัฒนาการผลิตสารต้านอนุมูลอิสระจากสาหร่ายกลุ่ม Chlorophyta

372 วิจัยและพัฒนาเครื่องหั่นย่อยและบดวัสดุทางการเกษตร

373 ประเมินคุณภาพน้ำมันพืชที่ใช้ปรุงอาหาร โดยใช้เทคนิค Near Infrared Spectroscopy

374 การตรวจสอบการเข้าทำลายผลิตผลเกษตรของด้วงงวงข้าวโพดโดยใช้ NIR Spectroscopy

375 การวัดปริมาณสารพิษโอคราทอกซิน เอ ในเมล็ดกาแฟโดยเทคนิคNear Infrared Spectroscopy

376 พัฒนาแป้งพืชศักยภาพให้เป็น modified starch

377 วิธีการเก็บรักษาแป้งสำเร็จรูปที่ใช้ทำผลิตภัณฑ์

378 การใช้กรดอินทรีย์และเกลืออนินทรีย์ควบคุมโรคผลเน่าของผลไม้หลังเก็บเกี่ยว

379 ศึกษาการปนเปื้อนของเชื้อราและสารพิษฟูโมนิซินในธัญพืช

380 การใช้สารรมเมทิลโบรไมด์ในการกำจัดเพลี้ยไฟและแมลงหวี่ขาวในผักสดส่งออก

381 การใช้สารรมเมทิลโบรไมด์ในการกำจัดแมลงวันผลไม้ในพริกสดส่งออก

382 การศึกษาประสิทธิภาพในการกินเหยื่อของมวนดำก้นลาย Amphibolus venator (Klug)(Reduviidae Hemiptera)

383 ชีววิทยา นิเวศวิทยา และการป้องกันกำจัดด้วงผลไม้แห้ง (Carpophilus hemipterus L.) ในลำไยอบแห้ง

384 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และจำแนกพรรณไม้ล้มลุกในพื้นที่ลานหินทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

385 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และจำแนกพืชวงศ์ Convolvulaceae

386 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ การจำแนก และประเมินศักยภาพการใช้ประโยชน์ของพืชสกุล Mangifera L.(Anacardiaceae) ในประเทศไทย

387 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ การจำแนก และประเมินศักยภาพการใช้ประโยชน์ของพืชสกุล Lagerstroemia L.(Lythraceae) ในประเทศไทย

388 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และการจำแนกเมล็ดพืชวงศ์ Labiatae

389 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และการจำแนกเมล็ดธัญพืชวงศ์ Poaceae

390 การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และการจำแนกเมล็ดวัชพืชสกุล Cyperus

391 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และการจำแนกพืชวงศ์Apiaceae

392 การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และการประเมินศักยภาพของการใช้ประโยชน์ ของพืชวงศ์ Gesneriaceae ในประเทศไทย

393 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และการจำแนกพรรณไม้น้ำ

394 ความหลากหลายและลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชวงศ์ Aquifoliaceae

395 การกระจายพันธุ์และลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพืชวงศ์ Portulacaceae

396 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์พุทธรักษา ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

397 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อพัฒนา หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์ถั่วแขกตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

398 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์บวบเหลี่ยม ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

399 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์หญ้าเนเปียร์ (Pennisetumpurpureum Schumach. ) และลูกผสมตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

400 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์กุหลาบ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

401 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์กระเจี๊ยบเขียว ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชพ.ศ. 2542

402 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์มะพร้าวตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

403 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์งา ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

404 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์แก้วมังกร ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

405 พัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์ข้าว ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชพ.ศ.2542 ภายใต้มาตรฐานอาเซียน

406 พัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์ทุเรียน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 ภายใต้มาตรฐานอาเซียน

407 พัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์มะละกอตามพระราช บัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 ภายใต้มาตรฐานอาเซียน

408 พัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์พริก ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชพ.ศ. 2542 ภายใต้มาตรฐานอาเซียน

409 พัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์แก้วกาญจนา ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 ภายใต้มาตรฐานอาเซียน

410 พัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์มันสำปะหลัง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชพ.ศ.2542 ภายใต้มาตรฐานอาเซียน

411 อิทธิพลของระดับความชื้นและอุณหภูมิที่แตกต่างกันต่อเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดพันธุ์สมุนไพรวงศ์ Leguminosae เพื่อการอนุรักษ์ในธนาคารเชื้อพันธุ์พืช

412 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อหนอนตายหยาก (Stemona spp.) เพื่อการอนุรักษ์เชื้อพันธุ์พืช

413 การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชวงศ์ขิง (ขมิ้นอ้อย และว่านทิพยเนตร) โดยใช้เทคนิค Cryopreservation

414 การศึกษาสูตรสารละลายธาตุอาหารพืชที่เหมาะสมในการผลิตผักชีฝรั่งในระบบการปลูกแบบสารละลายธาตุอาหารพืช และคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว

การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสม (กะเพรา)

การทดสอบระยะปลูกที่เหมาะสม (กะเพรา)ล่าสุด

ทดสอบการปลูกพืชคลุมซีรูเลียมและมูคูนาเพื่อฟื้นฟูและลดต้นทุนปาล์มน้ำมันในพื้นที่ลุ่ม และสร้างเครือข่ายเกษตรกรผู้นำที่ปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ลุ่มจังหวัดปัตตานี

มานิตา_ชนิดของศัตรูพืชในส้มและมะนาวนำเข้าจากจีนและกลุ่มอาเซียน

เรื่องเต็มการทดลองสิ้นสุด(หน้สวัวใบ)

เศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (กาแฟ)-11-3-58