ชื่อสามัญ หอมแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์
ชื่ออื่นๆ –
ถิ่นกำเนิดและประวัติความเป็นมา
ลักษณะทั่วไป
พันธุ์และการขยายพันธุ์
หัวพันธุ์
วิธีการปลูก
ปลูกหอมแดง ระยะ 16 x16 เซนติเมตร
การดูแลรักษา
- ฉีดพ่นสารคุมวัชพืชก่อนงอก ในกลุ่มออกซีฟูออเซ็น สารคุม วัชพืชก่อนงอก (อะลาคลอร์+ฟลูมิโอซาซิน)
- การใส่ปุ๋ย หลังปลูก 15 วันใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กก./ไร่โดยวิธีหว่านให้ทั่วแปลง
- หลังจากนั้น 15 วัน ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา25 กก./ไร่ โดยวิธีหว่านให้ทั่วแปลง
- หลังปลูก 30 วัน ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 13 – 13 – 21 อัตรา 25 กก./ไร่ และสูตร 0 -10 –30 อัตรา 25 กก./ไร่
โรคและแมลงศัตรูที่สำคัญ
โรคหอมเลื้อย อาการของโรคพบได้ที่ ใบ กาบใบ คอ หรือส่วนหัว เริ่มแรกพบจุดฉ่ำน้้ำขนาดเล็กสีเขียวหม่น และขยายใหญ่เป็นรูปกลมหรือรี เนื้อแผลยุบลงเล็กน้อยบนแผลมีหยดของเหลวสีชมพูอมส้ม เมื่อแห้งจะเห็นตุ่มเล็กๆสีน้ำตาลดำเรียงเป็นวงรีซ้อนกันหลายชั้น ใบพืชจะไม่ตั้งตรงจะเอนล้ม ทำให้ดูเหมือนเลื้อย ใบบิด โค้งงอ หัวลีบยาว เลื้อยไม่ลงหัว ทำให้ต้นหอมเน่าเสียหายในแปลงปลูก เก็บเกี่ยวไม่ได้ หรือไปเน่าเสียในช่วงเก็บรักษา
หนอนกระทู้ การระบาดทำลายใบ หอมแดงเมื่อมองจากระยะไกลใบมีสีขาว หนอนกระทู้วัยเล็กจะเจาะเข้าไปอาศัยในใบหอมและกัดกินเนื้อเยื่อใบหอมทำให้มองในระยะไกลพบว่ามีใบสีขาว และกัดกินจนลงไปถึงหัวหอมทำให้ไม่สามารถเก็บผลผลิตได้
การใช้ประโยชน์
รับประทานสด
แหล่งพืชอนุรักษ์
ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ