งานวิจัยพืชสมุนไพร

1. การคัดเลือกและเปรียบเทียบพันธุ์ปัญจขันธ์ลูกผสมที่ได้จากการผสมพันธุ์ปี 2556

2. การเปรียบเทียบและพัฒนาพันธุ์ปัญจขันธ์พันธุ์พื้นเมืองที่มีศักยภาพการผลิต

3. ศึกษาความต้องการธาตุอาหารและการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตและ ปริมาณน้ามันในเมล็ดกระเจี๊ยบแดง

4. ผลของปริมาณการให้น้ำที่มีต่อผลผลิตเมล็ดกระเจี๊ยบแดง

5. การสะสมน้ามันในระยะต่างๆ ของเมล็ดกระเจี๊ยบแดงพันธุ์หนักและพันธุ์เบา

6.การสำรวจและรวบรวมพันธุ์ปัญจขันธ์พันธุ์พื้นเมืองหรือพันธุ์ป่าในสภาพธรรมชาติ

7. ศึกษาความต้องการธาตุอาหารและการจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพปัญจขันธ์

8. ศึกษาจำแนกเชื้อสาเหตุโรคเน่าของปัญจขันธ์และการป้องกันกำจัดโดยชีววิธี

9. การศึกษาปริมาณธาตุอาหาร สาระสำคัญและองค์ประกอบอื่นๆ ในปัญจขันธ์พันธุ์ต่างๆ

10. ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตหัวพันธุ์ขิงปลอดโรค (G1) ในแปลงเกษตรกร

11. ศึกษาการผลิตหัวพันธุ์ขิงปลอดโรค (G1) ในสภาพไร่

12. ศึกษาอายุการเก็บเกี่ยวของขิงจากต้นกล้าและหัวพันธุ์ขิงปลอดโรค เพื่อผลิตหัวพันธุ์ขิง (minirhizome) และขิงปลอดโรค (G0) ในสภาพโรงเรือน

13. ศึกษาการควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียของไพลโดยวิธีผสมผสาน

14. การอบดินด้วยแสงอาทิตย์และการคลุกเคล้าดินด้วยผักกาดเขียวเพื่อกำจัดโรคเหี่ยวที่เกิดจาก เชื้อแบคทีเรียของขิงในแปลงปลูก

15. การใช้พืชตระกูลกะหล่ำเป็นสารรมทางชีวภาพ เพื่อควบคุมแบคทีเรียสาเหตุโรคเหี่ยว ของขิงในสภาพโรงเรือนและแปลงปลูก

16. วิธีการปลูกที่เหมาะสมต่อผลผลิตและปริมาณสารสำคัญของปัญจขันธ์พันธุ์อ่างขาง

17. อายุเก็บเกี่ยวเมล็ดปัญจขันธ์ที่เหมาะสมเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์

18. การเพิ่มประสิทธิภาพการงอกของเมล็ดพันธุ์ปัญจขันธ์พันธุ์สิบสองปันนา

19. คัดเลือกและทดสอบประสิทธิภาพจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคเหี่ยวของไพล

20. ศึกษาการใช้ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตและขนาดหัวขิง

21. การทดสอบพันธุ์ปัญจขันธ์ในแหล่งปลูกเพื่อการค้า

22. ศึกษาสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของตะไคร้ต้นจากแหล่งต่างๆ

23. การขยายพันธุ์ตะไคร้ต้นด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

24. ลักษณะอาการและสาเหตุของโรคแผลเปื่อยและยอดตายของกิ่งตะไคร้ต้น

25. การใช้น้ำมันหอมระเหยตะไคร้ต้นเพื่อป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช

26. การจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพหัวขิงแก่

27. การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรคเหี่ยวของขิงด้วยสาร isothiocyanate ที่กำเนิด จากสาร glucosinolate ในพืชตระกูลกะหลํ่าในห้องปฏิบัติการ

28. ศึกษาการอบแห้งและการคงสภาพของชาปัญจขันธ์

29. ศึกษาจุลินทรีย์ปนเปื้อนในปัญจขันธ์หลังการเก็บเกี่ยว

30. ศึกษาการจัดการปุ๋ยอินทรีย์และการพรางแสงต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพของปัญจขันธ์

31. ศึกษารูปแบบการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมในการผลิตปัญจขันธ์