ผลงานวิจัยสิ้นสุด
ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรีได้ดำเนินการค้นคว้าวิจัยพืชสวนเศรษฐกิจในภาคตะวันออก โดยมีงานวิจัยเกี่ยวกับไม้ผล (ทุเรียน เงาะ มังคุด พืชสกุลระกำ ลองกอง) และไม้ผลอื่นๆ ที่มีปลูกในภาคตะวันออก ไม้ดอกและไม้ประดับ (กล้วยไม้ เฟิร์น และไม้ดอกไม้ประดับพื้นเมือง) และ สมุนไพรและเครื่องเทศ (พริกไทย วานิลลา ขมิ้นชัน และอบเชย) สรุปรวบรวมผลงานวิจัยที่สิ้นสุดแล้ว ดังนี้
งานวิจัยและพัฒนาทุเรียน
- การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทุเรียนเพื่อกระจายการผลิต ชม
- การป้องกันกำจัดโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนแบบผสมผสาน มา
- การจัดการสวนทุเรียนแบบผสมผสานเพื่อลดการใช้สารเคมีในการผลิตทุเรียนคุณภาพ ชม
งานวิจัยและพัฒนามังคุด
- เรื่องเต็ม การสำรวจ จำแนก และคัดเลือกเชื้อราเอ็คโตไมคอร์ไรซาที่ละลายฟอสเฟตได้จากดินสวนมังคุด Survey, Classification and Selection of Phosphate-solubilizing Ectomycorrhiza from Mangosteen Orchard Soils (2563)
- การเปรียบเทียบการจัดการปุ๋ยและสารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อการผลิตมังคุดก่อนฤดู ชม
- การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อแก้ปัญหาอาการเนื้อแก้ว ชม
- การจัดการระบายน้ำออกจากแปลงเพื่อลดปัญหาอาการเนื้อแก้วในผลมังคุด มา
- การจัดการน้ำเพื่อชักนำการออกดอกก่อนฤดูของมังคุดในภาคตะวันออก ธี
- ผลของการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตและสารเคมีเพื่อชักนำการสุกของผลมังคุดก่อนเก็บเกี่ยว ธี
- วิจัยและพัฒนาวิธีการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูกักกันมังคุดอย่างมีประสิทธิภาพปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมและเหมาะสมในเชิงการค้า มา
- วิจัยและพัฒนาวิธีการป้องกันกำจัดศัตรูมังคุดที่เหมาะสมและปลอดภัย มา
- วิจัยและพัฒนาวิธีการป้องกันกำจัดศัตรูมังคุดหลังเก็บเกี่ยวที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมในเชิงการค้า
งานวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเงาะผลสด
- การจัดการทำระบบ Cold-Chain โดยวิธี Pre-Cooling หลังเก็บเกี่ยวเพื่อชะลออาการ
ขนเหี่ยวดำของเงาะ (หน้า ๔) - วิจัยและพัฒนาการเคลือบผิวเงาะด้วย palm oil เพื่อยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยว (หน้า ๑๘)
- วิจัยและพัฒนาการเคลือบผิวจาก Carboxymethyl Cellulose (CMC) ในการยืดอายุผลเงาะหลังการเก็บเกี่ยว (หน้า ๓๐) สำ
งานวิจัยและพัฒนากล้วยไม้
งานวิจัยสับปะรด
งานวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ
- ผลของชนิดและอัตราปุ๋ยเคมีและอินทรีย์ที่มีต่อการเพิ่มผลผลิตและสารสาคัญในดีปลี Effect of Type and Ratio of Chemical Fertilizer and Organic Fertilizer on Yield and Active Ingredient in Long pepper (Piper retrofractum Vahl.) (2563)
- ศึกษาคัดเลือกพันธุ์วานิลลาที่ให้ผลผลิตและสารสำคัญสูง สา
- การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขมิ้นชันตามหลักเกษตรดีที่เหมาะสม สา
- ศึกษารวบรวมและคัดเลือกพันธุ์กระวานที่ให้ผลผลิตสูง สา
- ศึกษารวบรวมพันธุ์อบเชย สา