ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี

ศพก.เหล่าเสือโก้ก

โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ปีงบประมาณ 2564

หน่วยงาน……..ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี…………

ชื่อ ศพก. ……..เหล้าเสือโก้ก……

ชนิดพืชที่สนับสนุน…..งา…………..

  1. สำหรับหน่วยงานที่มีกิจกรรมแปลงต้นแบบ
  2. สำหรับหน่วยงานที่มีกิจกรรมแปลงต้นแบบ

1.1 ผลวิเคราะห์สภาพพื้นที่เป้าหมายก่อนดำเนินการ

อยู่ระหว่างรอผลวิเคราะห์ตัวอย่างดินของเกษตรกร ทั้ง 3 ราย

1.2 ภาพรวมเทคโนโลยี และต้นทุนการผลิต ตามวิธีของเกษตรกรเปรียบเทียบกับเทคโนโลยีของกรมวิชาการเกษตรที่ให้เกษตรกรต้นแบบดำเนินการ

  1. นายสมศักดิ์ อินทร์ษี
การผลิตพืชตามวิธีของเกษตรกร การผลิตพืชตามเทคโนโลยีในแปลงต้นแบบ  การดำเนินงาน
เทคโนโลยี* ต้นทุน

(บาท/ไร่)

เทคโนโลยี* ต้นทุน

(บาท/ไร่)

ต.ค. 2562 – มี.ค.2564 เม.ย. – ก.ย. 2564
1.     พันธุ์ 100 1.   1.พันธุ์ 50 สำรวจแปลงปลูก เก็บตัวอย่างดิน  
2.     การเตรียมดิน 500 2.   2.การเตรียมดิน 500 ส่งวิเคราะห์ดิน (สวพ.4)  
3.     การปลูก 300 3.   3.การปลูก 300 ปลูกงาดำ พันธุ์อุบลราชธานี 3  วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 โดยใช้ระยะห่างระหว่างแถว 50 ซม.  
4.     การใส่ปุ๋ย 800 4.   4.การใส่ปุ๋ย 400 ใส่ปุ๋ยเกรด 16-16-8 อัตรา 25 กก./ไร่ พร้อมถอนแยก ระยะห่างระหว่างต้น ประมาณ 10 ซม.  
5.      การกำจัดวัชพืช  0 5.   การกำจัดวัชพืช  300  ส่วนการปลูกแบบเกษตรกร (หว่าน) ใส่ปุ๋ยพร้อมปลูก  
6.     ป้องกันกำจัดโรค -แมลง 6.     ป้องกันกำจัดโรค -แมลง ขณะนี้ อยู่ระหว่างการดูแลรักษา  
7.     การให้น้ำตลอดฤดูปลูก (น้ำคลอง)

 

7.   การให้น้ำตลอดฤดูปลูก (น้ำคลอง)  
8.     การเก็บเกี่ยว 8.   การเก็บเกี่ยว  
รวม รวม    

 

  1. นายวรวิทย์ สีหนาท
การผลิตพืชตามวิธีของเกษตรกร การผลิตพืชตามเทคโนโลยีในแปลงต้นแบบ  การดำเนินงาน
เทคโนโลยี* ต้นทุน

(บาท/ไร่)

เทคโนโลยี* ต้นทุน

(บาท/ไร่)

ต.ค. 2562 – มี.ค.2564 เม.ย. – ก.ย. 2564
1.     พันธุ์ 100 1.พันธุ์ 50 สำรวจแปลงปลูก เก็บตัวอย่างดิน  
2.     การเตรียมดิน 500 2.การเตรียมดิน 500 ส่งวิเคราะห์ดิน (สวพ.4)  
3.การปลูก 300 3.การปลูก 300 ปลูกงาดำ พันธุ์อุบลราชธานี 3  วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 โดยใช้ระยะห่างระหว่างแถว 50 ซม.  
3.     การใส่ปุ๋ย 800 4.การใส่ปุ๋ย 400 ใส่ปุ๋ยเกรด 16-16-8 อัตรา 25 กก./ไร่ พร้อมถอนแยก ระยะห่างระหว่างต้น ประมาณ 10 ซม.  
4.     การกำจัดวัชพืช  0 5.   การกำจัดวัชพืช  300  ส่วนการปลูกแบบเกษตรกร (หว่าน) ใส่ปุ๋ยพร้อมปลูก  
6. ป้องกันกำจัดโรค -แมลง 6.   ป้องกันกำจัดโรค -แมลง ขณะนี้ อยู่ระหว่างการดูแลรักษา  
7.การให้น้ำตลอดฤดูปลูก (บาดาล)

 

7.   การให้น้ำตลอดฤดูปลูก (บาดาล)  
8. การเก็บเกี่ยว 8.   การเก็บเกี่ยว  
รวม รวม    

 

  1. นายนายสง่า พลเยี่ยม
การผลิตพืชตามวิธีของเกษตรกร การผลิตพืชตามเทคโนโลยีในแปลงต้นแบบ  การดำเนินงาน
เทคโนโลยี* ต้นทุน

(บาท/ไร่)

เทคโนโลยี* ต้นทุน

(บาท/ไร่)

ต.ค. 2562 – มี.ค.2564 เม.ย. – ก.ย. 2564
1. พันธุ์ 100 1.พันธุ์ 50 สำรวจแปลงปลูก เก็บตัวอย่างดิน  
2.การเตรียมดิน 500 2.การเตรียมดิน 500 ส่งวิเคราะห์ดิน (สวพ.4)  
3.การปลูก 300 3.การปลูก 300 ปลูกงาดำ พันธุ์อุบลราชธานี 3  วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 โดยใช้ระยะห่างระหว่างแถว 50 ซม.  
4.การใส่ปุ๋ย 800 4.การใส่ปุ๋ย 400 ใส่ปุ๋ยเกรด 16-16-8 อัตรา 25 กก./ไร่ พร้อมถอนแยก ระยะห่างระหว่างต้น ประมาณ 10 ซม.  
5.การกำจัดวัชพืช  0 5.การกำจัดวัชพืช  300  ส่วนการปลูกแบบเกษตรกร (หว่าน) ใส่ปุ๋ยพร้อมปลูก  
6. ป้องกันกำจัดโรค -แมลง 6.ป้องกันกำจัดโรค -แมลง ขณะนี้ อยู่ระหว่างการดูแลรักษา  
7.การให้น้ำตลอดฤดูปลูก (บ่อสระ)

 

8.การให้น้ำตลอดฤดูปลูก (บ่อสระ)  
8. การเก็บเกี่ยว 9.   การเก็บเกี่ยว  
รวม รวม    

หมายเหตุ *เทคโนโลยี คือ ตั้งแต่เริ่มปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิต (กรณีไม้ยืนต้น 1 รอบฤดูการเก็บเกี่ยวผลผลิต) ได้แก่ การเตรียมดิน/เตรียมแปลง , พันธุ์พืช , การใช้เทคโนโลยี อาทิ การตัดแต่งกิ่ง การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การใช้ปุ๋ยชีวภาพ การใช้ชีวินทรีย์ การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร ,  การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว

1.3 ผลการดำเนินงานเกษตรกรต้นแบบ

 

  แผน ผล
เกษตรกรต้นแบบ (ราย) 3 3
แปลงต้นแบบ (ไร่) 3 3

1.4 สรุปผลการจัดทำแปลงต้นแบบเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืช

การผลิตงา ในพื้นที่ ศพก.เหล่าเสือโก้ก อำเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีเกษตรกรตำบลเหล่าเสือโก้ก 2 ราย และตำบลหนองบก 1 ราย พันธุ์รับรองของกรมวิชาการเกษตร คือพันธุ์งาดำ อุบลราชธานี 3 โดยเปรียบเทียบวิธีการปลูกตามเทคโนโลยีของกรมฯ คือ การปลูกแบบโรยเป็นแถว และการปลูกตามวิธีปฏิบัติของเกษตรกร คือ การปลูกแบบหว่าน โดยปลูกงาในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 ขณะนี้อยู่ระหว่างการดูแลรักษา คาดว่าจะเก็บเกี่ยวผลผลิตในเดือน เมษายน-มิถุนายน 2564

  • การยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกร

อยู่ระหว่างการดำเนินการทำแปลงต้นแบบของเกษตรกร

  • การลดต้นทุน

อยู่ระหว่างการดำเนินการทำแปลงต้นแบบของเกษตรกร

  • ผลผลิตเพิ่มขึ้น

อยู่ระหว่างการดำเนินการทำแปลงต้นแบบของเกษตรกร

  • คุณภาพผลผลิต

อยู่ระหว่างการดำเนินการทำแปลงต้นแบบของเกษตรกร (ระยะต้นกล้า-ออกดอก)