การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน คืออะไร ?การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เป็นการใช้ปุ๋ยให้ตรงตามระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน และตรงตามความต้องการของพืช ทำให้พืชเจริญเติบโตดี และการให้ผลตอบแทนคุ้มค่าแก่การลงทุน สมบัติของดินที่เหมาะสมในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ – ดินลึก มากกว่า

Read more

การขาดธาตุฟอสฟอรัสในข้าวโพด

ฟอสฟอรัส (Phosphorus; P) เป็นธาตุอาหารที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพดไม่น้อยไปกว่าธาตุไนโตรเจน จากการศึกษาพบว่าข้าวโพดตอบสนองต่อปุ๋ยฟอสเฟตตลอดฤดูปลูกเช่นกัน แต่มีความต้องการในระยะเริ่มแรกมากกว่าในระยะอื่นๆ โดยฟอสฟอรัสมีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตของราก อย่างไรก็ตามในระยะที่ข้าวโพดออกดอกฟอสฟอรัสก็มีบทบาทสำคัญในการช่วยเสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับต้นและเมล็ดเช่นกัน และพบอีกว่าการดูดใช้ธาตุฟอสฟอรัสจากดินของรากข้าวโพด จะเพิ่มขึ้นจนกระทั่งเมื่อรากเจริญเติบโตเต็มที่

Read more

การขาดธาตุแมงกานีสในข้าวโพด

แมงกานีส (Manganese; Mn) พืชดูดใช้แมงกานีสในรูปของแมงกานีสไอออน (Mn2+) เพื่อกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ และเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ช่วยแยกโมเลกุลของน้ำในกระบวนการสังเคราะห์แสง และกระบวนการเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ช่วยเสริมความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสและแคลเซียม

Read more

การขาดธาตุโพแทสเซียมในข้าวโพด

โพแทสเซียม (Potassium; K) มีความสำคัญในการสร้างการเจริญเติบโต ความแข็งแรงของลำต้นและการสร้างเมล็ด สภาพดินปลูกข้าวโพดในประเทศไทยมีโพแทสเซียมอยู่สูง จึงมักไม่พบปัญหาต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด ความเข้มข้นของโพแทสเซียมในใบของข้าวโพดในระดับที่พอเพียงอยู่ในช่วง 1.7-2.5 เปอร์เซ็นต์

Read more

การขาดธาตุไนโตรเจนในข้าวโพด

ไนโตรเจน (Nitrogen; N) มีบทบาทสำคัญต่อข้าวโพดตลอดอายุการเจริญเติบโต ตั้งแต่ระยะแรกของการเจริญเติบโตจนถึงระยะสร้างเมล็ด โดยเฉพาะอย่างยิ่งระยะออกดอก การให้ไนโตรเจนอย่างเหมาะสมแก่ข้าวโพดหวานในระยะแรกของการเจริญเติบโต ส่งเสริมให้เมล็ดข้าวโพดหวานมีความหวานเพิ่มขึ้น ความเข้มข้นของไนโตรเจนในใบของข้าวโพดในระดับที่พอเพียง ควรอยู่ในช่วง

Read more