ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ วิจัยและพัฒนาพันธุ์ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ฝ้าย และพืชไร่เศรษฐกิจอื่นๆ ศึกษาวิจัยแบบสหสาขาวิชา เพื่อให้ได้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและแก้ปัญหาการผลิตพืชไร่
โดย วีรวัฒน์ นิลรัตนคุณ วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว หมายถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดหลังการเก็บเกี่ยว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาคุณภาพของผลผลิตให้อยู่ในสภาพที่ดี และมีการสูญเสียทั้งด้านปริมาณและคุณภาพน้อยที่สุด โดยกิจกรรมหลังการเก็บเกี่ยวเหล่านี้ได้แก่
Read more
การพัฒนาพันธุ์ฝ้าย ของศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ กรมวิชาการเกษตร มุ่งเน้นเพื่อให้ได้พันธุ์ที่มีคุณภาพเส้นใยที่ดียิ่งขึ้นและมีความพิเศษที่แตกต่างจากพันธุ์เดิม สนับสนุนและรองรับการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่มีคุณภาพ สำหรับตลาดที่มีความต้องการเส้นใยธรรมชาติคุณภาพสูง “ ความแปลกใหม่ของสีเส้นใยจากพันธุ์ฝ้ายสีธรรมชาติของกรมวิชาการเกษตร สร้างเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ดึงดูดผู้บริโภคให้ประทับใจ กระตุ้นให้เกิดผู้ประกอบการที่สามารถแจ้งเกิดได้จากผลิตภัณฑ์ฝ้ายเส้นใยสี เพื่อแสวงหาความแปลกใหม่ที่แตกต่าง
Read more
หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด (Asian corn borer : Ostrinia furnacalis Guenee)เป็นแมลงศัตรูสำคัญที่สุดชนิดหนึ่งของข้าวโพด โดยเฉพาะในไร่ที่มีการปลูกข้าวโพดมานานปี หรือในแหล่งที่มีการใช้สารฆ่าแมลงมาก
Read more
ปลวก (Termites ; Coptotermes spp.) มันสำปะหลังเป็นพืชที่พบการเข้าทำลายของปลวกได้เช่นกัน โดยปลวกเจาะเข้าไปกัดกินภายในลำต้นมันสำปะหลัง เหง้า และหัว ทำให้มันสำปะหลังยืนต้นตาย
Read more
เพลี้ยจักจั่นฝ้าย (Cotton jassid ; Amrasca biguttula Ishida) เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญต่อการปลูกฝ้ายของไทยมาก ระบาดทุกระยะการเจริญเติบโต ทำให้ต้นฝ้ายในระยะต้นอ่อนไม่เจริญเติบโต
Read more