ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ วิจัยและพัฒนาพันธุ์ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ฝ้าย และพืชไร่เศรษฐกิจอื่นๆ ศึกษาวิจัยแบบสหสาขาวิชา เพื่อให้ได้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและแก้ปัญหาการผลิตพืชไร่

การขาดธาตุโพแทสเซียมในข้าวโพด

โพแทสเซียม (Potassium; K) มีความสำคัญในการสร้างการเจริญเติบโต ความแข็งแรงของลำต้นและการสร้างเมล็ด สภาพดินปลูกข้าวโพดในประเทศไทยมีโพแทสเซียมอยู่สูง จึงมักไม่พบปัญหาต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด ความเข้มข้นของโพแทสเซียมในใบของข้าวโพดในระดับที่พอเพียงอยู่ในช่วง 1.7-2.5 เปอร์เซ็นต์

Read more

อาการผิดปกติของข้าวโพดที่เกิดจากสารกำจัดวัชพืช

การใช้สารกำจัดวัชพืชเป็นส่วนหนึ่งของการผลิตพืชของเกษตรกร เนื่องจากสะดวก มีประสิทธิภาพ ทดแทนการใช้แรงงานคน เพื่อป้องกันกำจัดวัชพืชในไร่ของตน การใช้สารกำจัดวัชพืชในไร่ข้าวโพด เกษตรกรควรศึกษาข้อมูล ชนิด/ประเภทของสาร วิธีการใช้อย่างละเอียด  โดยใช้ให้ถูกต้อง

Read more

การขาดธาตุไนโตรเจนในข้าวโพด

ไนโตรเจน (Nitrogen; N) มีบทบาทสำคัญต่อข้าวโพดตลอดอายุการเจริญเติบโต ตั้งแต่ระยะแรกของการเจริญเติบโตจนถึงระยะสร้างเมล็ด โดยเฉพาะอย่างยิ่งระยะออกดอก การให้ไนโตรเจนอย่างเหมาะสมแก่ข้าวโพดหวานในระยะแรกของการเจริญเติบโต ส่งเสริมให้เมล็ดข้าวโพดหวานมีความหวานเพิ่มขึ้น ความเข้มข้นของไนโตรเจนในใบของข้าวโพดในระดับที่พอเพียง ควรอยู่ในช่วง

Read more

ทานตะวันประชากร NSSF(S)C3

ทานตะวันประชากร NSSF(S)C3 ประวัติ ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ วิจัยปรับปรุงพันธุ์ทานตะวันเพื่อใช้บริโภค มุ่งสร้างและพัฒนาพันธุ์ทานตะวันให้มีเมล็ดขนาดใหญ่ และเปอร์เซ็นต์น้ำมันต่ำ เพื่อให้เหมาะสมสำหรับการบริโภค ในปี 2564

Read more