โครงการวิจัย

เรื่อง

งานวิจัยที่ได้รับรางวัล ผลงานวิจัยดีเด่นกรมวิชาการเกษตร ระดับชมเชย

รายงานฉบับสมบูรณ์

1. การพัฒนาเห็ดเศรษฐกิจสายพันธุ์ใหม่ Coprinus comatus (O.F.Müll.) Gray ที่เหมาะสมกับการเพาในประเทศไทย (2555)

เรื่อง

งานวิจัยที่ได้รับรางวัล ผลงานวิจัยดีเด่นกรมวิชาการเกษตร ระดับชมเชย

รายงานฉบับสมบูรณ์

1. การพัฒนาเห็ดเศรษฐกิจสายพันธุ์ใหม่ Coprinus comatus (O.F.Müll.) Gray ที่เหมาะสมกับการเพาในประเทศไทย (2555)

2. การปรับปรุงพันธุ์เห็ดภูฏานลูกผสมสายพันธุ์ใหม่โดยวิธี Di-mon  mating  (2559)

เรื่อง

โครงการวิจัย: ศึกษาเทคโนโลยีการผลิตเห็ด (2549 - 2553)

รายงานฉบับสมบูรณ์

1. การประเมินสายพันธุ์เห็ดขอนขาวที่เหมาะสมกับการเพาะในพื้นที่ภาคกลาง (2549 – 2550)

2. การจัดระบบการผลิตที่มีผลต่อการให้ผลผลิต เห็ดนางรมคุณภาพ ภาคกลาง (2549 – 2550)

3. รวบรวม คัดเลือกพันธุ์เห็ดตีนแรดจากแหล่งต่างๆ เพื่อเป็นพันธุ์ทางการค้า (2549 – 2550)

4. การจัดระบบการผลิตที่มีผลต่อการให้ผลผลิตเห็ดฟาง (ภาคกลาง) (2549 – 2550)

5. ทดสอบสายพันธุ์เห็ดตีนแรดเพื่อใช้เป็นพันธุ์การค้า (2551 – 2552)

6. ทดสอบสายพันธุ์เห็ดตีนแรดที่ผลิตสารโพลีแซคคารายด์ที่เป็นประโยชน์ (2551 – 2552)

7. การประเมินสายพันธุ์เห็ดต่งฝนเพื่อการใช้ประโยชน์ (2551 – 2553)

8. รวบรวมและคัดเลือกพันธุ์เห็ด Oudemansiella spp. จากแหล่งต่าง ๆ เพื่อเป็นพันธุ์ทางการค้า (2552 – 2553)

9. กระบวนการผลิตปุ๋ยหมักเพื่อเพาะเห็ดฟางคุณภาพ (2551 – 2553)

10. การใช้ฟางข้าวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเห็ดนางรม (2551 – 2553)

เรื่อง

โครงการวิจัย: วิจัยและพัฒนาเห็ดเศรษฐกิจสายพันธุ์ใหม่ (2554 - 2558)

รายงานฉบับสมบูรณ์

1. การประเมินสายพันธุ์เห็ดเมืองหนาว Coprinus comatus (O.F.Müll.) Gray ที่เหมาะสมกับการเพาะในประเทศไทย (2554 – 2555)

2. รวบรวม ศึกษา และประเมินการใช้ประโยชน์หูหนูขาว (Tremella fuciformis Berkeley) เพื่อรวบรวมไว้ในธนาคารเชื้อพันธุ์ ศูนย์รวบรวมเชื้อพันธุ์เห็ดแห่งประเทศไทย (2554 – 2555)

3. รวบรวม ศึกษา และประเมินการใช้ประโยชน์เห็ดร่างแห (Dictyophora spp.) ในภาคกลาง (2554 – 2555)

4. รวบรวม จำแนกลักษณะและศึกษาการเกิดดอกของเห็ดลิ้นกวาง (Fistulina hepatica (Schaeff.)  With.)  (2554 – 2556)

5. การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา สรีรวิทยาและผลผลิต ของเห็ดภูฏานจำนวน 10 สายพันธุ์ที่เก็บรวบรวมไว้ในหน่วยเก็บอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมเห็ดเพื่อใช้เป็นเชื้อพันธุ์แนะนำ (2555)

6. การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา สรีรวิทยาและผลผลิต ของเห็ดภูฏานจำนวน 10 สายพันธุ์ที่เก็บรวบรวมไว้ในหน่วยเก็บอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมเห็ดเพื่อใช้เป็นเชื้อพันธุ์แนะนำ (2556)

7. ศึกษาและพัฒนาวัสดุเพาะเห็ดต่งฝน (2555 – 2556)

8. วิจัยเทคโนโลยีการผลิตเห็ดหูหนูขาว (2556 – 2557)

9. เทคโนโลยีการเพาะเห็ดถั่วฝรั่ง : Coprinus comatus (O. F.Müll.) Gray (2556 – 2557)

10. ศึกษาเทคโนโลยีการเพาะเห็ดร่างแหในภาคกลาง (2556 – 2557)

11. การเก็บรักษาเส้นใยเห็ดตีนแรด เห็ด Oudemansiella canarii และ เห็ดต่งฝน ในน้ำกลั่นปลอดเชื้อ (2557 – 2558)

12. การปรับปรุงสายพันธุ์เห็ดภูฏานโดยการผสมพันธุ์ระหว่างเส้นใยนิวเคลียสคู่กับเส้นใยนิวเคลียสเดี่ยว(2557 – 2558)

เรื่อง

โครงการวิจัย: วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการใช้วัสดุและอาหารเสริมเพาะเห็ดเศรษฐกิจ (2555 - 2557)

รายงานฉบับสมบูรณ์

1. ศึกษาการเพาะเห็ดต่งฝนบนวัสดุเพาะต่าง ๆ (2556 – 2557)

เรื่อง

โครงการวิจัย: วิจัยและพัฒนาเห็ดไมตาเกะและเห็ดถั่งเช่าสีทอง

รายงานฉบับสมบูรณ์

1. ศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเกิดดอกเห็ดไมตาเกะ
(2557 – 2558)

2. ลักษณะทางสรีรวิทยาและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญของเส้นใยเห็ดถั่งเช่าสีทอง
(Cordyceps militaris)  (2557 – 2558)

3. เทคโนโลยีการเพาะเห็ดไมตาเกะที่เหมาะสมต่อการเพาะในประเทศไทย (2559 – 2560)

4. การกระตุ้นการสร้างดอกของเห็ดถั่งเช่าสีทอง (Cordyceps militaris) (2559 – 2560)

เรื่อง

โครงการวิจัย: การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ (2560 - 2563)

รายงานฉบับสมบูรณ์

1. การคัดเลือกสายพันธุ์เห็ดฟางที่ให้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพตรงความต้องการของตลาด
(2560 – 2561)

2. การคัดเลือกและประเมินสายพันธุ์เห็ดเป๋าฮื้อเพื่อการใช้ประโยชน์ (2560 – 2561)

3. การปรับปรุงพันธุ์เห็ดขอนขาวลูกผสมสายพันธุ์ใหม่ (2560 – 2561)

4. ศึกษาประสิทธิภาพการให้ผลผลิตและคุณภาพของเห็ดฟางสายพันธุ์ดีในฟาร์มเกษตรกร
(2562 – 2563)

5. ศึกษาประสิทธิภาพการให้ผลผลิตและคุณภาพของเห็ดเป๋าฮื้อสายพันธุ์ดีในฟาร์มเกษตรกร  (2562 – 2563)

6. ศึกษาประสิทธิภาพการให้ผลผลิตและคุณภาพของเห็ดขอนขาวลูกผสมในฟาร์มเกษตรกร  (2562 – 2563)

เรื่อง

โครงการวิจัย: การพัฒนาการเพาะเห็ดที่มีศักยภาพ (2560 - 2563)

รายงานฉบับสมบูรณ์

1. การเพิ่มสารต้านอนุมูลอิสระ (ซีลีเนียม) ในเห็ดภูฏานและเห็ดตีนแรด