วิสัยทัศน์

วิสัยทัศน์ 

     กรมวิชาการเกษตรเป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการวิจัยและพัฒนาด้านพืชเครื่องจักรกลการเกษตรและเป็นศูนย์กลางรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรด้านพืชในระดับสากลบนพื้นฐานการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

พันธกิจ

1.สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยด้านพืชและเครื่องจักรกลการเกษตรสู่กลุ่มเป้าหมาย

2 กำหนดและกำกับดูแลมาตรฐานระบบการผลิตและผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต พัฒนาระบบตรวจรับรองสินค้า        การเกษตรด้านพืชให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล

อนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพด้านพืช แมลง และจุลินทรีย์

4 กำกับ ดูแลและพัฒนากฎหมายที่กรมวิชาการเกษตรรับผิดชอบ

อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย

กรมวิขาการเกษตร มีภารกิจเกี่ยวกับพืช โดยศึกษา วิจัยและพัฒนาพืช เครื่องจักรกลการเกษตรและปัจจัยการผลิต

ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชสู่กลุ่มเป้าหมายทั้งภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร บริการ วิเคราะห์ ทดสอบตรวจสอบ

รับรองมาตรฐานสิบค้าพืช รวมทั้งให้ดำแนะนำเกี่ยวกับดิน น้ำ ปุ๋ย พืช วัสดุการเกษตร ผลผลิต และผลิตภัณฑ์พืช

เพื่อยกระตับมาตรฐานการผลิตพืชเพื่อพัฒนาผลผลิตพืชให้มีคุณภาพ และปลอดภัยต่อผู้บริโภคตามมาตรูฐานสากล

และเพื่อให้บริการการส่งออกสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน  โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

1 ดำเนินการตามกุฎหมายว่าด้วยการกักพืชกฎหมายว่าด้วยปุ้ย กฎหมายว่าด้วยพันธุ์พีช กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย กฎหมายว่าด้วยการควบคุมยาง กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืช และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

2 ศึกษา คันคว้า ทดลอง วิจัย และพัฒนาวิชาการเกษตรด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับพืช

3 ให้บริการด้านการวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช และให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่องดิน น้ำ ปุ๋ย พืชวัสดุการเกษตร ผลผลิต และผลิตภัณฑ์พืช การบริการ ส่งออกสินค้าเกษตรและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

4 ให้บริการวิชาการ ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีการเกษตรแก่เจ้าหน้าที่ เกษตรกร เอกชนและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

5 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

ทั้งนี้มีการแบ่งส่วนราชการกรมวิชาการเกษตร ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๗ ดังต่อไปนี้

1 สำนักงานเลขานุการกรม

2 กองการเจ้าหน้าที่

3 กองคลัง

4 กองแผนงานและวิชาการ

5 กองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืข

6 กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

7 กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร

8 ศูนย์เทคโนโสยีสารสนเทศและการสื่อสาร

9 สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม

10 สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน

11 สถาบันวิจัยพืชสวน

12 สถาบันวิจัยยาง

13 สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร

14 สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช

15 สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช

16 สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ

1724 สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 18