ผลงานวิจัยดีเด่นระดับกรม

ผลงานวิจัยเด่นผลงานวิจัยเด่น

– เรื่อง การหาตำแหน่งยีนควบคุมปริมาณโปรตีนในถั่วเหลืองโดยเครื่องหมายโมเลกุล SSR เพื่อใช้ปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองโปรตีนสูง

ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลระดับกรม ปี 2557

– เรื่อง เครื่องหมายโมเลกุลในการตรวจวิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมและตรวจสอบปาล์มน้ำมันลูกผสมชนิดเทเนอรา

ผลงานวิจัยดีเด่น

– การพัฒนาเอนไซม์แอลฟา อะไมเลส จากเชื้อ Bacillus sp. และการแสดงออกในเซลล์ Escherichia coli เพื่อการผลิตเอทานอล

– การโคลนยีนไซโคลฟิลินจากข้าวฟ่างและการแสดงออกของยีนในยาสูบ

ผลงานวิจัยปี 2549 - 2550

– การสร้างเอกลักษณ์พันธุกรรมถั่วเหลืองโดยใช้โมเลกุลเครื่องหมายชนิดไมโครแซทเทลไลท์

– การสร้างเอกลักษณ์พันธุกรรมอ้อยโดยใช้โมเลกุลเครื่องหมายชนิดไมโครแซทเทลไลท์

– การสร้างความหลากหลายทางพันธุกรรมเพื่อคัดเลือกสายพันธุ์บุก

– การสร้างความหลากหลายทางพันธุกรรมเพื่อคัดเลือกสายพันธุ์ดาหลา

– การวิเคราะห์ปริมาณการแสดงออกของยีน CAD เพื่อพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลของเนื้อไม้ยางพารา

– การวิเคราะห์การแสดงออกของยีนจากจีโนมยางพาราเพื่อพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับเนื้อไม้

– การระบุชุดหรือกลุ่มของยีนข้าวที่ตอบสนองต่อการเข้าทำลายด้วยเชื้อราสาเหตุโรคไหม้

– การพัฒนาเทคนิค Real-time PCR ในการตรวจสอบการปนเปื้อนของมะละกอดัดแปลงพันธุกรรม

– การพัฒนาเทคนิค Real – time PCR ในการตรวจสอบการปนเปื้อนของข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม

– การทดสอบคุณค่าทางโภชนาการของมะละกอแขกดำดัดแปรพันธุกรรมเทียบกับมะละกอแขกดำที่ไม่ได้ดัดแปรพันธุกรรม

– การทดสอบการแสดงออกของยีน COMT เพื่อพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลของเนื้อไม้ยางพารา

– การทดสอบการแสดงออกของโปรตีนห่อหุ้มของเชื้อไวรัสจุดวงแหวนในมะละกอดัดแปลงพันธุกรรม

– การตรวจหาปริมาณสารพิษตามธรรมชาติ benzyl isothiocyanate ในมะละกอดัดแปลงพันธุกรรม

– การใช้เทคโนโลยีลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อการพิสูจน์พันธุ์ข้าวไทยสายพันธุ์ใหม่

– การจัดทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอของปาล์มน้ำมันโดยใช้เทคนิค SSLP

– การโคลนยีน ส่วนของยีนที่เกี่ยวข้องกับความต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลของข้าว

ผลงานวิจัยปี 2548

– การวิจัยและพัฒนาระบบสารสนเทศลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพันธุ์ข้าวไทย

– พัฒนาวิธีการตรวจการปลอมปนของข้าวสารพันธุ์ปทุมธานี 1 ในข้าวหอมมะลิไทย

– ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของปาล์มน้ำมันสุราษฎร์ธานี 1, 2, และ โดยใช้เทคนิค AFLP

– การโคลนยีน/ส่วนของยีนที่เกี่ยวข้องกับความต้านทางเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลของข้าว

– การโคลนและวิเคราะห์ยีนต้านทานเชื้อราโรคไหม้จากข้าวพันธุ์พื้นเมือง

– การวิจัยลายพิมพ์ดีเอ็นเอของไหม

– การค้นหายีนที่เกี่ยวข้องกับเนื้อไม้โดยวิเคราะห์จากการแสดงออกของยีนจากจีโนม

– การทดสอบยีน caffeate-O-methyl-transferase (COMT) เชิงปริมาณในยาวเพื่อเนื้อไม้

– การวิเคราะห์ปริมาณการแสดงออกของยีนในยางพันธุ์เพื่อเนื้อไม้

– การพัฒนาวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อข้าวพันธุ์รับรองโดยใช้ระบบเพาะเลี้ยงยอดอ่อน

– เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อบุกเพื่อการขยายพันธุ์

– เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อว่านชักมดลูกเพื่อการขยายพันธุ์

– การขยายพันธุ์และการเก็บรักษากล้วยไม้สกุลช้างในสภาพปลอดเชื้อ

– การพัฒนาเทคนิค Real-time PCR ในการตรวจสอบการปนเปื้อนของถั่วเหลือง GM และผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป

– การจำแนก speciesของBacillus spp.ไอโซเลทที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของ Macrophomina phaseolinaและSclerotium rolfsii

– การปรับปรุงสายพันธุ์ Bacillus subtilis โดยการทำให้กลายพันธุ์